Page 340 - thaipaat_Stou_2563
P. 340

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                               ั
               เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้และพฒนาทักษะความรู้อย่างแท้จริงและรวมถึงการมีโอกาสได้ท างานที่ตน
                                                            ั
               ยอมรับว่าส าคัญและมีความหมาย 4). โอกาสในการพฒนาความรู้ความสามารถของตน ลักษณะงานที่ส่งเสริม
                                                                                 ู
                                                                              ิ่
               ความเจริญเติบโตและความมั่นคงให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน นอกจากงานจะช่วยเพมพนความรู้ความสามารถแล้วยัง
                                                                                                ื่
               ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาสก้าวหน้า และมีความมั่นคงในอาชีพตลอดจนเป็นที่ยอมรับทั้งของเพอนร่วมงาน
                                                                                    ื่
                                                                        ั
               และสมาชิกในครอบครัวของตน 5).การท างานร่วมกันและความสัมพนธ์กับบุคคลอน หมายถึง งานนั้นช่วยให้
               ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาสสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นๆ รวมถึงโอกาสที่เท่าเทียมกันในความก้าวหน้าที่ตั้งอยู่บน
               ฐานของระบบคุณธรรม 6).สิทธิส่วนบุคคล หมายถึง ลักษณะงานที่ตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการ
               ยุติธรรมซึ่งหมายถึง วิถีชีวิต และวัฒนธรรมในองค์การจะส่งเสริมให้ เกิดการเคารพสิทธิส่วนบุคคลมีความเป็น
                           ิ
               ธรรมในการพจารณาให้ผลตอบแทนและรางวัล รวมทั้งโอกาสที่แต่ละคนจะได้แสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย
                               ู
               มีเสรีภาพ ในการพด มีความเสมอภาค และมีการปกครองด้วยกฎหมาย 7).ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการ
               ท างานโดยส่วนรวม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ชีวิตในการท างานและชีวิตส่วนตัวนอกองค์กร
               อย่างสมดุล นั่นคือ ต้องไม่ปล่อยให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับความกดดันจากการปฏิบัติงานมากเกินไป ด้วยการ
                                                                                            ั
               ก าหนดชั่วโมงการท างานที่เหมาะสมเพอหลีกเลี่ยงการที่ต้องคร่ าเคร่งอยู่กับงานจนไม่มีเวลาพกผ่อน หรือได้ใช้
                                                ื่
               ชีวิตส่วนตัวอย่างเพยงพอ 8).ความเป็นประโยชน์ต่อสังคม หมายถึง ลักษณะงานมีส่วนเกี่ยวข้องและสัมพนธ์
                                ี
                                                                                                       ั
               กับสังคมโดยตรง ซึ่งนับเป็นเรื่องที่ส าคัญประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องรู้สึก และยอมรับว่าองค์กรที่ตน
               ปฏิบัติงานอยู่นั้นรับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่างๆ ทั้งในด้านผลผลิต การจ ากัดของเสีย การรักษา
               สภาพแวดล้อม การปฏิบัติเกี่ยวกับการจ้างงาน และเทคนิคด้านการตลาด

                       บุคลากรในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในส านักงาน
               สาธารณสุขจังหวัดยะลา ซึ่งประกอบด้วย ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข
               ลูกจ้างประจ าลูกจ้างรายเดือน ลูกจ้างเหมา ลูกจ้างโครงการ

                                                     ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

                                       ั
                       ได้แนวทางในการพฒนาคุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากรในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
               เพื่อช่วยให้บุคลากรในองค์กรมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในการท างานและในการด าเนินชีวิตต่อไป


                                                     วิธีด ำเนินกำรวิจัย
                       การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบและวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative  Research) และได้น าความรู้ซึ่งได้
               จากการศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเอกสารทางวิชาการต ารา (Documentary Study) ท าการเก็บ
               รวบรวมโดย การสัมภาษณ์ การเสวนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participatory Observation) ใช้

               วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informant) แบบเจาะจงโดยได้เลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นบุคลากรใน
               ส านักงานสาธารณสุข   จังหวัดยะลาจ านวน 12 คน เป็นคณะท างานที่ปฏิบัติงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
               เนื่องจากมีหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการพฒนาบุคลากรในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ซึ่งเป็นผู้ที่มี
                                                    ั
               ประสบการณ์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการพฒนาคุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากรในส านักงานสาธารณสุข
                                                   ั
               จังหวัดยะลามากที่สุด ประกอบด้วยข้าราชการ จ านวน 6 คน พนักงานราชการ จ านวน 5 คน และลูกจ้าง
               เหมาบริการ จ านวน 1 คน โดยใช้เครื่องมอในการศึกษาเป็นแบบสอบถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพอศึกษา
                                                  ื
                                                                                                   ื่
               ข้อมูล คือ 1) ศึกษาความต้องการพฒนาบุคลากรในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผล
                                             ั
               ต่อความส าเร็จและเสนอแนะแนวทางในการพฒนาคุณภาพชีวิตในการท างาน ร่วมกับการใช้กระบวนการ
                                                       ั


                                                                                                     338
   335   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345