Page 426 - thaipaat_Stou_2563
P. 426

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               บทน ำ
                                                                                                       ื่
                       ไม่ว่าจะเป็นการบริหารอะไรก็ตาม ทรัพยากรบุคคลมีความส าคัญก่อนปัจจัยหรือองค์ประกอบอนๆ
                                                                                     ิ
               ความส าคัญในแง่การบริหารจัดการมิใช่การพิจารณาในแง่ปริมาณเท่านั้น แต่ยังต้องพจารณาในด้านคุณภาพที่
               มีส่วนผสมของความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมรวมอยู่ด้วย ดังนั้นการปฏิบัติต่อบุคลากรต้อง
                                                           ื่
               ไม่เหมือนกับการปฏิบัติต่อปัจจัยหรือองค์ประกอบอนๆของการบริหาร เนื่องจากบุคลากรมีศักดิ์ศรี มีจิตใจที่
                       ่
               ละเอยดออน ต้องให้เกียรติกัน เชื่อมั่นในความสามารถของบุคลากร ดังนั้นองค์การต้องแสดงถึงหลักประกันที่
                    ี
                                                                                                       ื่
               แสดงออกมาในรูปของแรงจูงใจควบคู่กับต าแหน่ง เช่น สวัสดิการ ค่าตอบแทน ผลประโยชน์อนๆ
               สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน การได้รับการยอมรับ ความก้าวหน้าในอาชีพ เป็นต้น (ประเวศน์ มหารัตน์
               สกุล, 2554,:43) ในการที่จะสร้างให้บุคลากรน าความรู้ความสามารถที่มีมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่
               และสร้างความผูกพนให้บุคลากรจะยังคงปฏิบัติงานอยู่ในองค์การ ช่วยประชาสัมพนธ์องค์การสู่สาธารณชน
                                ั
                                                                                     ั
               พร้อมที่จะทุ่มเท เสียสละเพอปฏิบัติงานในองค์การ และมีความคิดอยู่เสมอว่าองค์การเป็นเสมือนบ้านหลังที่
                                       ื่
               สองของบุคลากร มีความเป็นส่วนหนึ่งกับพร้อมที่จะช่วยกันพฒนาให้องค์การมีความก้าวหน้า ประสบ
                                                                      ั
               ความส าเร็จตามวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่ได้ก าหนดไว้ นั้น  ผู้บริหารจะต้องใช้ศิลปะในการบริหารที่สามารถ
               ตอบสนองความต้องการ ความพงพอใจ สร้างความผูกพน สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานให้
                                                               ั
                                           ึ
               ประสบความส าเร็จมากขึ้น ด้วยการให้ความสนใจในเรื่องคุณภาพชีวิตในการท างานในแต่ละด้านซึ่งเป็น
               แรงจูงใจที่จะส่งผลให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพอให้การบริหาร
                                                                                             ื่
               บรรลุจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ

                         ื่
                       เพอให้สอดคล้องกับการปฏิรูปประเทศเพอไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 มหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้มี
                                                         ื่
               การปรับตัวและเปลี่ยนแปลงภายในองค์การจึงได้ก าหนดนโยบายและวางแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยได้อย่าง
               เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ประเทศและโลก (แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. 2561) ในการ
                 ั
               พฒนามหาวิทยาลัยมหิดลเพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก อาศัยปัจจัยที่จะช่วยขับเคลื่อนองค์การไปสู่
               เป้าหมายที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย 4 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ธรรมาภิบาล  เทคโนโลยี  ทรัพยากรบุคคล  และ

               วัฒนธรรมองค์การการที่จะด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ให้ส าเร็จได้นั้นบุคลากรนับว่าเป็นทุนมนุษย์ที่มี
               ความส าคัญอย่างยิ่งได้วางภาพอนาคตด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ไว้ว่า “ ประชาคมมหิดลมีความสุข
               (Happiness for All) บุคลากรท างานอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ปรับปรุงระเบียบ กระบวนการต่างๆให้

               ทันสมัย รวดเร็ว สอดคล้องกับการท างานนอกระบบราชการ โดยใช้มืออาชีพช่วยในการด าเนินการ เป็น
                         ิ
               ส านักงานอเล็คทรอนิคส์ (e-office) การท างานเชิงรุก (Proactive) สามารถเชื่อมโยงข้อมูลเพอคิดวิเคราะห์
                                                                                              ื่
               วางแผนได้ เพมการสื่อสารสองทาง และเป็น Training Center” โดยมุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านคุณภาพของ
                           ิ่
               บุคลากร อนเป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ความก้าวหน้า คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ได้ก าหนด
                         ั
               นโยบายและทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยส่วนใหญ่มุ่งเน้น
                                                             ั
               การสร้างความสุขและความผูกพนของบุคลากร การพฒนาบุคลากร และการสร้างความก้าวหน้าในสายงาน
                                           ั
               ของบุคลากร อีกทั้งยังมีการด าเนินการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านอื่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ส าคัญคือ
               การให้ความส าคัญการการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานของบุคลากร (Work-Life Balance) โดยจัดปัจจัย

                                                                                                    ั
               เกื้อหนุนต่างๆให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตในการท างานที่ดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยเสริมสร้างความผูกพนของ
               บุคลากรต่อคณะเวชศาสตร์เขตร้อน
                       ผู้ศึกษาเองปฏิบัติงานด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการที่องค์การจะต้องดูแลในเรื่อง
                                                                              ั
                                                                 ั
               คุณภาพชีวิตในการท างาน รวมถึงปัจจัยต่างๆที่มีความสัมพนธ์กับความผูกพนต่อองค์การของบุคลากร การที่
                                                                                                        ั
               องค์การจะสร้างให้บุคลากรจะมีความผูกพันต่อองค์การในระดับมากได้นั้น จะต้องประกอบไปด้วยความผูกพน
                                                                                                     424
   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430   431