Page 239 - thaipaat_Stou_2563
P. 239
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
อ าเภอเบตง จ.ยะลา เป็นอ าเภอใต้สุดของประเทศไทย “โกไข่”หรือ นายชาญ นกแก้ว คนเก่าแก่ของเบตง ได้
ี
ถ่ายทอดประวัติและความเป็นมาพอสังเขป โกไข่เกิดที่เบตง และอาศัยอยู่ที่เบตงมาเกือบตลอดทั้งชีวิต โดยมีเพยงบาง
ช่วงเท่านั้นที่ได้เข้าไปศึกษาต่อที่กรุงเทพมหานคร เมื่อเรียนจบจึงตัดสินใจกลับบ้านที่เบตง “บ้านเรามีอะไรดีกว่านี้
เยอะ คิดนะ คิดไว้ตลอดเลย กลับมากลับบ้านดีกว่า พอจบปุ๊บผมกลับบ้านเลย” เมื่อโกไข่กลับมาที่อาเภอเบตง ได้เปิด
ร้านขายของอยู่ในตลาดสดอยู่ไม่ถึง ๕ ปี ก็รู้สึกว่าไม่ใช่ตัวตน จึงปล่อยเช่าแล้ว เปิดร้านน้ ากาแฟหลังตลาดสดที่ตั้งอยู่
ั้
ในปัจจุบัน และระหว่างนั้นก็ได้เก็บรวบรวมภาพถ่าย หลักฐาน ของเก่าแก่ทงหลายเกี่ยวกับประวัติของเบตงไว้มากมาย
ดังนั้นโกไข่จึงเป็นบุคคลหนึ่งที่ได้รับการยอมรับจากคนในเบตง ว่าเป็นผู้รู้เรื่องราวประวัติศาสตร์ของอาเภอเบตงเป็น
อย่างดี การเล่าเรื่อง “เบตง”ของโกไข่เป็นการเล่าด้วยภาพเก่า และหลักฐานส าคัญต่างๆ ที่เก็บสะสมไว้เป็นเวลานาน
ซึ่งสิ่งที่โกไข่สะสมนี้ นับเป็นมรดกที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของอาเภอเบตง เป็นอนมาก ด้วยเหตุผลดังกล่าวท าให้
ั
์
โกไข่ได้รับประกาศเกยรติคุณในฐานะ “เป็นผู้อนุรักษมรดกไทยดีเด่น พทธศักราช ๒๕๕๘” จากคณะกรรมการ
ี
ุ
อานวยการวันอนุรักษ์มรดกไทย และยังได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายกับหน่วยงานต่างๆ รวมถึงการติดต่อสัมภาษณ์
จากสื่อมวลชนหลายแขนงเกี่ยวกับเรื่องราวของเบตง ส่วน ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของหมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านหนึ่งใน
อ.เบตง จ.ยะลา หมู่บ้าน“จุฬาภรณ์พฒนา ๑๐” เริ่มขึ้นตั้งแต่ในราวช่วงปี ค.ศ.๑๙๕๐ เป็นต้นมา ในดินแดนของ
ั
ประเทศมาเลเซียซึ่งในขณะนั้นยังคงเป็นอาณานิคมของประเทศองกฤษ ต่อมากลุ่มคนจีนมาลายาที่อาศัยอยู่ใน ๓ รัฐ
ั
ของมาเลเซียติดพรมแดนประเทศไทย ได้ต่อสู้กับกลุ่มทหาร ทั้งองกฤษและญี่ปุ่น ได้รับความเสียหายทั้งชีวิตและ
ั
ทรัพย์สินเป็นอย่างมาก จึงได้แตกซ่านกระเซ็นเพื่อเอาชีวิตรอด กระจัดกระจายไปตามพื้นที่ต่างๆ และมีอยู่จ านวนหนึ่ง
คือประมาณ ๒๐๐ กว่าชีวิตที่ได้อพยพเคลื่อนย้ายเข้ามายังพรมแดนประเทศไทยในเขตอ าเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยใน
ระยะแรกได้มีการตั้งฐานทัพ รวมกลุ่มกันอยู่ในป่า ด ารงชีพด้วยการเข้าป่าล่าสัตว์ และใช้สมุนไพรในป่าเป็นยารักษา
โรค ซึ่งในขณะนั้นตนจีนมลายากลุ่มนี้ถูกเรียกว่า “จคม. หรือโจรคอมมิวนิสต์”
หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๐ อยู่ในพื้นที่ที่ล้อมรอบด้วย “ป่าแก่”เป็นธรรมชาติที่แท้จริง อุณหภูมิเฉลี่ยตลอด
ปีอยู่ที่ประมาณ ๒๐ องศาเซนเซียส (ต่ าสุด ๑๔ องศาฯ สูงสุด ๓๐ องศาฯ ) ถือว่ามีอากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี ไม่ร้อน
ไม่หนาวจนเกินไป
คนในชุมชนนับถือศาสนาพทธทั้งหมด ใช้ภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันคือ “ภาษาจีนกวางไส” มี
ุ
จีนกลาง และภาษาไทยบ้างเล็กน้อย ชาวบ้านมีรายได้หลักจากการประกอบอาชีพการท าสวนยางพารา (ในอดีตมีรายได้
ี
จากการกรีดยางพาราแต่เนื่องจากปัจจุบันมีฝนตกมาก คนที่กรีดยางที่มาจากภาคเหนือและภาคอสานก็กลับไป
ปัจจุบันไม่ค่อยมีคนกรีดยาง) ปลูกสวนทุเรียน (ผลผลิตจากสวนทุเรียนในหมู่บ้านมีมากกว่า ๒๐๐ ตัน แต่ก็มีบางปีที่
ฝนตกมาก เนื่องมาจากได้รับอทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก (climate change) ท าให้บางปี
ิ
ทุเรียนไม่ออกผลผลิตก็มี
จึงท าให้ผู้วิจัยได้ท าการศึกษาเรื่องเล่าของชุมชุนโดยเฉพาะหมู่บ้านจุฬาภรณ์10 ของ อ.เบตง จ.
ยะลา เพื่อต้องการการศกษาการค้นหาและสร้างมูลค่าเพิ่มจากอัตลักษณ์เรื่งราวเรื่องเล่าของชุมชน หมู่บ้าน
ึ
จุฬาภรณ์ 10 อ .เบตง จ.ยะลา
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
ื่
2.1 เพอศึกษามูลค่าเพมจากอตลักษณ์เรื่องราวเรื่องเล่าของชุมชน หมู่บ้านจุฬาภรณ์ 10 อ .เบตง
ั
ิ่
จ.ยะลา
วิธีด ำเนินกำรวิจัย
ั
การค้นหาและสร้างมูลค่าเพิ่มจากอตลักษณ์เรื่งราวเรื่องเล่าของชุมชน หมู่บ้านจุฬาภรณ์ 10 อ .เบตง
ั
จ.ยะลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพสัมภาษณ์เชิงลึก เน้นผู้มีส่วนร่วมในการพฒนาหมู่บ้านจุฬาภรณ์ 10 จ านวน 10
ท่าน
237