Page 242 - thaipaat_Stou_2563
P. 242

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                ข้อมูลวิถีชีวิตชุมชน
                       หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๐ อยู่ในพื้นที่ที่ล้อมรอบด้วย “ป่าแก่”เป็นธรรมชาติที่แท้จริง อุณหภูมิเฉลี่ยตลอด
               ปีอยู่ที่ประมาณ ๒๐ องศาเซนเซียส  (ต่ าสุด ๑๔ องศาฯ สูงสุด ๓๐ องศาฯ ) ถือว่ามีอากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี ไม่ร้อน
               ไม่หนาวจนเกินไป

                       คนในชุมชนนับถือศาสนาพทธทั้งหมด ใช้ภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันคือ “ภาษาจีนกวางไส” มี
                                           ุ
               จีนกลาง และภาษาไทยบ้างเล็กน้อย ชาวบ้านมีรายได้หลักจากการประกอบอาชีพการท าสวนยางพารา (ในอดีตมีรายได้
                                                                                               ี
               จากการกรีดยางพาราแต่เนื่องจากปัจจุบันมีฝนตกมาก คนที่กรีดยางที่มาจากภาคเหนือและภาคอสานก็กลับไป
               ปัจจุบันไม่ค่อยมีคนกรีดยาง)  ปลูกสวนทุเรียน (ผลผลิตจากสวนทุเรียนในหมู่บ้านมีมากกว่า ๒๐๐ ตัน แต่ก็มีบางปีที่
                                       ิ
               ฝนตกมาก เนื่องมาจากได้รับอทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก (climate change) ท าให้บางปี
               ทุเรียนไม่ออกผลผลิตก็ม
                                  ี
               กิจกรรมกำรท่องเที่ยวของชุมชน

                        ส าหรับการท่องเที่ยวของหมู่บ้าน “จุฬาภรณ์พัฒนา ๑๐” ถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ “พรรค
               คอมมิวนิสต์มาลายา” ที่เชื่อมต่อหลายเผ่าพันธุ์ ทั้งไทย จีน มาเลเซีย และซาไก มีความเป็นมาที่หลายคนยังไม่เคยรู้และ
               ยังมีธรรมชาติผืนป่าดั้งเดิมที่ชาวบ้านเรียกว่า “ป่าแก่” มีประเพณีวัฒนธรรมที่มีเรื่องเล่าสอดแทรกอยู่ในนั้นด้วย ใน
               ปัจจุบันกิจการด้านการท่องเที่ยวของชุมชน ได้มีการจัดตั้ง “บริษัทสันติรีสอร์ทไทย จ ากัด” ซึ่งได้จดทะเบียนเป็น
               รัฐวิสาหกิจแล้ว มีทั้งคณะกรรมการการท่องเที่ยวหมู่บ้านทั้งหมด ๑๐ กว่าคน บริหารงานในรูปแบบสหกรณ์
               แหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยง

                                                                            ั
                        ส าหรับแหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยงหากมาเที่ยวที่หมู่บ้านจุฬาภรณ์พฒนา ๑๐ ส าหรับนักท่องเที่ยวที่จะมา
               เที่ยวหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๐ นั้นจะผ่านอ าเภอเบตง จังหวัดยะลา ซึ่งที่อ าเภอเบตงมีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย เช่น
                   1)  ตัวอ าเภอเบตง
                   2)  บ่อน้ าพุร้อนเบตง
                   3)  อุโมงค์ปิยะมิตร ๒
                   4)  ไม้ดอกเมืองหนาวปิยะมิตร ๑
                   5)  ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
                   6)  เขื่อนบางลาง หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๙

               จุดเด่น/เอกลักษณ์ของชุมชน
                                                                                                     ่
                        ส าหรับจุดเด่นและเอกลักษณ์ของหมู่บ้านจุฬาภรณ์พฒนา ๑๐ หมู่บ้านล้อมรอบด้วย “ป่าแก” เป็น
                                                                    ั
               ธรรมชาติอย่างแท้จริง จุดเด่นด้านการท่องเที่ยวของชุมชนสามารถจ าแนกได้ใน ๓ ลักษณะ ประกอบด้วย
                        1.  แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ เช่น ต้นใหญ่  น้ าตก การเดินชมธรรมชาติในป่า
                        2.  การท่องเที่ยวทางด้านประวัติศาสตร์ของ “พคม. หรือพรรคคอมมิวนิสต์มลายา” ซึ่งมีการเก็บรวบรวม
                           ทั้งภาพถ่าย เอกสาร ข้าวของเครื่องใช้ รวบรวมไว้ในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ของชุมชน

                        3.  การท่องเที่ยวในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลตรุษจีน เทศกาลวันกินผลไม้
               กำรเดินทำงเข้ำถึงชุมชน
                           ส าหรับเส้นทางการเดินทางเข้าถึงหมู่บ้าจุฬาภรณ์พฒนา ๑๐ นั้นสามารถเลือกเส้นทางการเดินทางได้
                                                                   ั
                           หลายแบบ ดังนี้
                           การเดินทางโดยรถยนต์ สามารถเดินทางได้ ๓ เส้นทางคือ

                             เส้นทางที่ ๑ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ มีระยะทางจากจังหวัดยะลาถึงอาเภอเบตง ๑๔๐
                           กิโลเมตร เมื่อถึงเบตง มุ่งไปเส้นทางหลวงชนบท ถนนรัตนกิจ ๔๐๖๒ เดินทางไปประมาณ ๒๗ กิโล

                           สังเกตก่อนถึงหมู่บ้านจะมีป้ายภาษาจีนบอกเป็นระยะ จนถึงปากทางเข้าหมู่บ้านซ้ายมือจะมีป้ายขนาด
                           ใหญ่มีทั้งภาษาจีนภาษาไทย “กลับคืนสู่ธรรมชาติ”และภาษาอังกฤษ “BACK TO NATURE” พื้นสีขาว

                                                                                                     240
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247