Page 318 - thaipaat_Stou_2563
P. 318

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               เลือกจ านวนทั้งสิ้น 281 คน (คิดเป็นร้อยละ 70.3)  โทรทัศน์มีนักศึกษาเลือกจ านวนทั้งสิ้น 99 คน (คิดเป็น
                                                                                                      ึ
               ร้อยละ 24.8) อินเทอร์เน็ตมีนักศึกษาเลือกจ านวนทั้งสิ้น 9 คน (คิดเป็นร้อยละ 2.3) ประสบการณ์มีนักศกษา
               เลือกจ านวนทั้งสิ้น 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 1.5) และวิทยุกับอื่นๆ ไม่มีนักศึกษาเลือกตอบ ตามล าดับ
               6. อภิปรำยผลกำรศึกษำ
                       6.1 ระดับควำมเข้ำใจที่มีต่อกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ
                       การศึกษาระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ

               เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) สามารถอภิปราย
                                                                             ิ
               ผลได้ว่า การศึกษาระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงครามอยู่ระดับมาก(ค่าเฉลี่ย
               3.59) แสดงให้เห็นว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงครามส่วนใหญ่มีความเข้าใจและสนใจในเรื่องของ
               การเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2562 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส าคัญอย่างหนึ่งของการเข้าไปมี

               ส่วนร่วมทางการเมืองและเป็นหน้าที่ส าคัญของพลเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยซึ่งจะ
               สอดคล้องหรือเป็นไปตามแนวคิดในเรื่องการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการที่ประชาชน จะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
               ประชาชนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าและความส าคัญของการเลือกตั้ง จึงท าให้เห็นว่า
               ความเข้าใจของบุคคลที่มีต่อการเมืองนั้นมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคล

               นั้นๆไม่ว่าจะเป็นการเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การอภิปรายปรายถกเถียงปัญหาทางการ
               เมือง เป็นต้น โดยมีความสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมทางการเมืองมาใช้ในการอภิปรายผลถึง
               ระดับความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษาถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมทางการเมือง

               เช่น การเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การอภิปรายปรายถกเถียงปัญหาทางการเมือง เป็นต้น
               และสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับกฎหมายการเลือกตั้ง โดยที่นักศึกษาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ
               เกี่ยวกับกฎระเบียบ กติกา หรือข้อบังคับในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างถูกต้อง แม่นย า และตาม
               พระราชบัญญัติแห่งกฎหมายการเลือกตั้ง ประชาชนทุกคนจะต้องปฏิบัติตามกฎ กติกา การเลือกตั้ง รวมถึง
               การเข้าไปมีส่วนร่วมในการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

                                                        ั
                       นอกจากนี้ผลการศึกษายังสื่อไปถึงการพฒนาประชาธิปไตยและการพฒนาทางการเมือง โดยการที่
                                                                                 ั
               นักศึกษาหรือประชาชนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
               เกี่ยวกับการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองและมีแนวโน้มที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยเฉพาะการ

                                                                         ั
               เลือกตั้งมากขึ้นจะสามารถท าให้ประชาธิปไตยและระบบการเมืองพฒนาขึ้นได้ เนื่องจากว่าการมีส่วนร่วม
                                                   ั
               ทางการเมืองเป็นเป้าหมายส าคัญของการพฒนาระบบการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะการมีส่วนร่วม
               ทางการเมืองเป็นตัวชี้วัดที่ส าคัญประการหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย สังคมใดจะมีระดับความเป็น
               ประชาธิปไตยสูงหรือต่ าจะต้องพิจารณาจากระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยสังคมที่ประชาชนมีส่วนร่วม

               ทางการเมืองสูงสังคมนั้นก็จะเป็นสังคมที่มีระดับความเป็นประชาธิปไตยสูงตามไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด
                              ั
                                                      ั
               ในเรื่องของการพฒนาประชาธิปไตยกับการพฒนาทางการเมือง และผลการศึกษายังมีความสอดคล้องกับ
               งานวิจัยของ วัฒนิกา ศิลปะกุล (2550, น.117) ที่เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของ
               ประชาชนในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามเจตนารมณ์ของธรรมนูญที่ต้องการให้การเมืองเป็นของ

               พลเมือง และงานวิจัยของ วัฒนิกา ศิลปะกุล โดยพบว่ากลุ่มวัยรุ่นหรือคนรุ่นใหม่ได้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของ
               การพฒนาการมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตยผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่เริ่มที่จะให้ความ
                    ั
                                                                               ื้
               สนใจและเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนส าคัญในการสร้างพนฐานที่แข็งแกร่งให้กับระบอบ
               ประชาธิปไตยของไทย




                                                                                                     316
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323