Page 319 - thaipaat_Stou_2563
P. 319
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
6.2 ควำมเข้ำใจที่มีต่อกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ
การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2562 วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
สามารถอภิปรายผลได้ว่า ความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม
ิ
อยู่ในระดับน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย 1.74) แสดงให้เห็นว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามมีความเข้าใจ
ในเรื่องของการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในระดับที่น้อยมาก เนื่องจากว่าในการท า
่
แบบสอบถามมีทั้งนักศึกษาที่อานค าถามแล้วคิดวิเคราะห์ก่อนลงมือท าแบบสอบถามและนักศึกษาที่ไม่อาน
่
่
ค าถามหรืออานแบบผ่านๆแล้วท าแบบสอบถาม(กาดิ่งลงมาแบบมั่วๆ)อกประการหนึ่งอาจจะเป็นเพราะว่า
ี
แบบสอบถามที่ทางคณะผู้วิจัยได้ท าการคิดขึ้นมาอาจจะไม่ครอบคลุมในเรื่องของการไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง
ั
ได้ทั้งหมด จากผลการศึกษาได้มีความสอดคล้องกับหลักแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพฒนาประชาธิปไตย โดย
พบว่านักศึกษายังขาดความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งบวกกับประสบการณ์ในการไปให้สิทธิเลือกตั้งของ
นักศึกษายังน้อยเพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกของนักศึกษา จึงท าให้นักศึกษายังขาดความเข้าใจในระบอบ
ั
ประชาธิปไตยอยู่มาก จึงจ าเป็นที่จะต้องมีการพฒนาให้นักศึกษาได้เข้าใจในมีส่วนร่วมทางการเมืองให้มากขึ้น
ื่
เพอเพมความเข้าใจให้กับนักศึกษา รวมถึงความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ิ่
ั
ราชภัฏพบูลสงครามจึงมีความสอดคล้องกับแนวคิดการพฒนาทางการเมือง เพอให้การเมืองมีความเป็น
ื่
ิ
ประชาธิปไตยอย่างแท้จริงได้ย่อมต้องอยู่กับการพฒนาการเมืองก็เป็นส่วนที่ส าคัญที่จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด
ั
พฤติกรรมการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเป็นส าคัญ จึงแสดงให้เห็นถึงคุณค่าในการพฒนา
ั
การเมืองไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยในสังคมได้อย่างแข็งขัน
นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่าการที่นักศึกษาหรือประชนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมีแนวโน้มที่
จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งเพมมากขึ้น ท าให้ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
ิ่
เพมขึ้นด้วย เนื่องจาก ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นจะสูงหรือต่ าขึ้นอยู่กับว่าประชาชนในประเทศทุก
ิ่
คนมีความรู้ความเข้าใจและให้ความสนใจต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากน้อยแค่ไหน โดยถ้า
ประชาชนในประเทศมีความรู้ความเข้าใจและให้ความสนใจต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมาก ระดับ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองก็จะมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีในเรื่องของการมีส่วนร่วม
ั
ทางการเมือง และยังมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของ นุกุล ชิ้นฟก และคณะ(2554, น.89) โดยพบว่าความ
เข้าใจของบุคคลที่มีต่อการเมืองนั้นมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคลนั้นๆ
เนื่องจากว่าในการที่ประชาชนจะเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งและเลือกผู้แทนให้ตรงตามความต้องการของตนเองนั้น
ประชาชนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจ าเป็นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการมีส่วนร่วมทางการ
เมืองโดยเฉพาะในเรื่องของการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายและข้อก าหนดในการเลือกตั้ง เข้าใจนโยบายที่
นักการเมืองแต่ละพรรคใช้ในการหาเสียง เป็นต้น และผลการศึกษาวิจัยยังมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของ
มานพ เข็มเมือง (2557, น.94) ในเรื่องของการที่ประชาชนผู้มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งได้แสดงให้
ั
เห็นถึงแนวโน้มของการพฒนาการมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตยผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งที่ประชาชนผู้มี
สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให้ความสนใจและเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
6.3 แหล่งที่มำของข้อมูลในกำรรับรู้ข่ำวสำรในกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ
ิ
การศึกษาแหล่งที่มาของข้อมูลในการรับรู้ข่าวสารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม
พบว่ามาจากการศึกษาเล่าเรียนคิดเป็นร้อยละ 70.3 แสดงให้เห็นว่านักศึกษาส่วนใหญ่นั้นมีความเข้าใจในเรื่อง
317