Page 323 - thaipaat_Stou_2563
P. 323
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
กำรวิเครำะห์อภิมำนงำนวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของกำรจ่ำยค่ำตอบแทนตำมผลงำนเพื่อเพิ่มผลกำร
ปฏิบัติงำนของพนักงำนในองค์กำรภำครัฐและภำคเอกชนใน 18 ประเทศ: บทเรียนส ำหรับกำรบริหำรงำน
บุคคลภำครัฐไทย
์
ธนากร มูลพงศ
75
มหาวิทยาลัยมหิดล
Email address: dhanakorn.mul@mahidol.ac.th
บทคัดย่อ
การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานได้ถูกประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายทั้งในหน่วยงานภาคเอกชนรวมถึง
หน่วยงานภาครัฐในประเทศต่าง ๆ แต่ทว่าประสิทธิผลของการใช้ระบบดังกล่าวยังคงเป็นที่กังขา ผู้วิจัยได้
ด าเนินการวิเคราะห์อภิมานผลการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของการใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานใน
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จ านวน 34 ชิ้น จาก 18 ประเทศ (ยกเว้นประเทศไทย) ที่ตีพมพระหว่างปี
์
ิ
ค.ศ. 1987 ถึง 2017 และพบว่า ในภาพรวม ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานมีความสัมพนธ์เชิงบวก
ั
ั
กับการเพมผลการปฏิบัติงานของพนักงานทั้งในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน แต่ขนาดความสัมพนธ์
ิ่
(effect size [ES]) ของตัวแปรทั้งสองกลับมีขนาดที่เล็ก (ES = .26, [95%CI = .15, .36]) การวิเคราะห์พหุ
ระดับแบบ 3 ระดับ พบว่า ในระดับบุคคล ประสิทธิผลของการใช้ระบบดังกล่าวในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชนไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ในระดับองค์การ หากบูรณาการการจ่าย
ค่าตอบแทนตามผลงานร่วมกับแนวปฏิบัติ HR ที่ดีด้านอน ๆ ภายใต้ระบบ strategic HRM ระบบการจ่าย
ื่
ั
ค่าตอบแทนตามผลงานจะมีความสัมพนธ์เชิงบวกอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติกับการเพมผลผลิตในการท างาน
ิ่
ของพนักงาน ในระดับประเทศ ผู้วิจัยพบว่า ค่านิยมมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานมีอทธิพลต่อความส าเร็จ
ิ
หรือความล้มเหลวของการประยุกต์ใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน ในตอนท้าย ผู้วิจัยได้ถอดบทเรียน
จากผลการศึกษานี้และจัดท าข้อเสนอแนะเพอการประยุกต์ใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานในการ
ื่
บริหารงานบุคคลภาครัฐไทยให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
75 อาจารย์หลักสูตรนโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
321