Page 246 - thaipaat_Stou_2563
P. 246
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้เล่าต่ออกว่า ตอนที่เข้ามาก่อตั้งหมู่บ้านนี้มีประชากรประมาณ ๒๐๐ กว่าคน เนื่องจากมี
ี
บางส่วนที่อพยพกลับไปอยู่ที่มาเลเซีย “ตอนนั้นมีทั้งหมด ๑๑๑ ครอบครัว ประมาณ ๒๐๐ กว่าคนตอนนั้นผมเป็น
ผู้ใหญ่บ้านอยู่ คือโครงการที่เข้ามาทั้งหมด ๒๓ โครงการก็ถือว่าเยอะเรารับไม่ไหวเป็นโครงการพระราชด าริทั้งหมด
เกี่ยวกับเกษตร ท่านเอาต้นกล้าผลไม้มาให้แต่ละครอบครัว ๓๐๐ ต้นตอนนั้นรัฐบาลได้จัดสรรที่ดินให้ ๑๕ ไร่ต่อ
ครอบครัว ถ้า ๓๐๐ ต้นปลูกจริงๆ เกือบครึ่งละ แล้วก็เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู เลี้ยงปลา เลี้ยงผึ้ง”
ผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้ทิ้งท้ายในการสนทนา โดยเล่าถึงเหตุผลส าคัญที่ได้ตัดสินใจตั้งรกรากอยู่ที่เบตงแห่งนี้ว่า
ี
“และอกอย่างหนึ่งเราต้องยกย่องคนเบตง เพราะว่าสนับสนุนเราหลายสิบปี ตั้งแต่ปี ๑๙๕๐ จนถึง เราจบสิ้นสงคราม
ิ
คนเบตงนี้ไม่ทิ้งเราเลย ที่นี้อสลามก็เยอะนะแต่ถามว่าท าไมถึงสนับสนุนเรา คือเราต้องเข้าใจว่าความยากจนไม่มี
ขอบเขตถูกไหมเขาไม่ได้แบ่งประเทศ ตรงไหนมีความยากจนเขาก็ต้องเข้ามาแล้วเพราะว่ากินไม่อิ่มเขาก็ต้องเข้ามาต่อสู้
กับรัฐบาล ทุกวันนี้เราไปดูสังคมของเราท าไมถึงได้ก้าวหน้าถ้าไม่มีพวกนี้ต่อสู้สังคมก็ยังอยู่เหมือนเดิมรัฐบาลเขาจะไม่
เปลี่ยนแปลง ผมย้อนสมัยก่อนตอนผมเป็นเด็กแล้วไม่มีที่ท ากินใช่ไหมเราไม่มีรายได้รัฐบาลช่วยไหมไม่มีพอเรามาตั้ง
หมู่บ้านรัฐบาลส่งเสริมอย่างโน้นอย่างนี้ แล้วก็เอาปุ๋ยเอาอะไรมาให้เรา เพราะว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นผลงานการต่อสู้
ั
ของคนยากคนจน” ดังนั้นความผู้พนระหว่างคนในอาเภอเบตง และในหมู่บ้านจุฬาภรณ์พฒนา ๑๐ แห่งนี้จึงเกิดขึ้น
ั
อย่างยาวนานมาจนถึงปัจจุบัน
สรุปผลกำรวิจัย
ื่
ั
การท าโครงการเพอตอบสนองความต้องการตามแผนยุทธศาสตร์ของชาติว่าด้วยการจัดการพฒนา
ั
ี
ท้องถิ่น เน้นใช้หลักการการพฒนาชุมชนพฒนาประชาชนว่าด้วด้วหลักปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอเพยง
ั
โดยเฉพาะท้องถิ่นทุรกันดารควรมีการพฒนาสุขภาวะอนามัยโดยให้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์และเป็นการ
ั
สร้างมูลค่าของชุมชนไม่ว่าจะป็นเส้นทางการท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ของชุมชน รวมไปถึงการสร้างอตลักษณ์ของ
ั
ั
ชุมชนให้เป็นที่ประจักษณ์เพอการพฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน สิ่งที่ส าคัญคือการการสร้างกระบวนการมีส่วน
ื่
ั
ั
ร่วมให้กับประชาชนมีทิศทางในการพฒนาตนเอง พฒนาอาชีพให้มีรายได้ โดยภาพรวมในการศึกษาสามารถ
ค้นพบกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยใช้ฐานแนวคิดของชุมชน เน้นสภาพความเป็นอยู่ อาหารการ
กิน คุณภาพชีวิต สิ่งที่ส าคัญในการศึกษาท าให้ชุมชนเป็นแหล่งท่องเที่ยวโดยใช้ฐานของชุมชนที่เป็นแหล่งการ
ท่องเที่ยว และเป็นการกระตุ้นนักท่องเที่ยวจากภายนอกเข้าไปสัมผัสบรรยากาศ ในชุมชนได้รับมลภาวะ
อากาศที่ดี สร้างสุข สุขภาพของผู้คนโดยทั่ว ๆ ไป
ข้อเสนอแนะ
1. ควรน าเรื่องราวเรื่องเล่าชุมชนเผยแพร่ให้กับกลุ่มนักท่องเที่ยวรับทราบรับรู้ความเป็นอตต
ั
ลักษณ์ของชุมชนว่าด้วยเรื่องธรรมชาติท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. ควรมีการวิจัยและแนะน าเรื่องราวเรื่องเล่าของหมู่บ้านอนๆ ของประเทศไทยสร้างมูลค่าด้าน
ื่
การท่องเที่ยวให้กับประเทศไทย เน้นเส้นทางการท่องเที่ยวดดยธรรมชาติด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
เอกสำรอ้ำงอิง
เบตง ใต้สุดแดนสยาม. (2556). สืบค้นวันที่ 30 เม.ย. 61, จาก https://pantip.com/topic/30609785
"เบตง" ไม่ใช่แค่โอเค แต่ดีมากจนหลงรัก. (2559). สืบค้นวันที่ 30 เม.ย. 61,
จาก https://pantip.com/topic/35630501
เบตง ยังคงโอเค จากปัตตานีสู่ดินแดนใต้สุดของประเทศไทย. (2557). สืบค้นวันที่ 30 เม.ย. 61,
จาก https://travel.kapook.com/view92278.html
เบิกฟ้าเบตงเมืองงามใต้สุดแดนสยาม. (2557). สืบค้นวันที่ 30 เม.ย. 61,
จาก https://sites.google.com/site/beikfabetongtisuddansiam/calendar
ไปดูทะเลหมอก เบตง-ฆุนุงซิลิปัต ป่ะละ. (2560). สืบค้นวันที่ 30 เม.ย. 61,
จาก https://pantip.com/topic/36441859
244