Page 78 - thaipaat_Stou_2563
P. 78

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                ่
                                    3.2 และความเสมอภาคเท่าเทียม   การยึดมั่นสิทธิความเทาเทยม ความเสมอภาคทางความคด
                                                                                                       ิ
                                                                                  ี
                                    ยอมรับความแตกต่าง           เกี่ยวกับความแตกต่างทางเพศ ชาติพันธุ์ กลุ่มผู้อพยพ และ
                                                                การยอมรับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมที่แตกต่าง
                  4. พฤติกรรมความ   4.1 การมีส่วนร่วมในการพัฒนา  การมีส่วนร่วมในกิจกรรมครอบครัว ชุมชน และสังคม ท ี่
                                                                                                     ุ
                                                                                              ุ
                  เป็นพลเมือง       ชุมชนและสังคม               เกี่ยวกับความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สิทธิมนษยชน อนรักษ์
                                                                วัฒนธรรม ศาสนา การส่งเสริมสาธารณสุข จิตอาสาเพื่อ
                                                                สาธารณะประโยชน  ์

                                    4.2 การแสดงออกทางการเมือง   การกระทาในกิจกรรมทางการเมือง การแลกเปลี่ยนความ
                                                                 ิ
                                                                คดเห็นกับครอบครัวและผู้อื่น การเลือกตั้ง การเข้ารวมกลุ่ม
                                                                จัดตั้งกลุ่ม การวิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์
                                    4.3 การแสดงออกถึงความถูกต้อง  การกระท าที่ยึดมั่นความถูกต้อง โดยการปฏิบัติตามกฎหมาย
                                    เป็นธรรม                    อย่างเคร่งครัด ไม่ยอมรับและไม่ปฏิบัติตามเมื่อเกิดความไม่
                                                                เป็นธรรม โดยการแสดงออกอย่างหลากหลายและเป็นสันติ
                                                                วิธ  ี


                           ผู้วิจัยน าสรุปองค์ประกอบ ตัวแปรความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย และนิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ
               ที่ได้ไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา เลือกวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)

               จ านวน 7 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อพัฒนา (ต้นแบบ) องค์ประกอบคุณลักษณะการ
               ส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย ส าหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แล้วน าผลสรุป

               ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา มาสร้างแบบสอบถามแล้วน าไป

                                        ื่
               ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เพอใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่างในแต่ละสาย
               งาน ประกอบด้วย ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และข้าราชการครู สังกัดส านักงาน กศน. ส านักงาน

               ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified random Sampling) จ านวน 650
                                                ่
               คน ซึ่งเป็นแบบวัดมาตรส่วนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ แล้วน าไปวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส ารวจ
                                             ื่
               (Exploratory Factor Analysis) เพอจัดกลุ่มตัวแปร และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory
               Factor Analysis) เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง
                           ผลการศึกษาที่จะได้รับจากการวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย

                                                         ั
               ส าหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย ในครั้งนี้แบ่งออกเป็น 1) หน่วยงานและผู้บริหาร
                                                                         ั
               การศึกษาในส่วนกลาง สามารถน าไปก าหนดนโยบายหรือวางแผนพฒนาทั้งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว
               ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยให้มีคุณลักษณะที่พงประสงค์ให้สอดคล้อง
                                                                                       ึ
               กับทิศทางนโยบายของรัฐบาลและแผนระดับชาติ ทั้งแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                                                                                     ั
               แห่งชาติ 2) หน่วยงานและผู้บริหารการศึกษาในส่วนภูมิภาค สามารถน าไปก าหนดเป้าหมายและแนวทางในการ

               ส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยร่วมกับสถานศึกษาในสังกัด รวมถึงภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 3)
               สถานศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา สามารถน าไปพฒนาหลักสูตรหรือกิจกรรมตามสภาพของชุมชนและ
                                                             ั
                           ึ
                             ั
                                                           ื่
                                                                       ุ
               ท้องถิ่น รวมถงพฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีความพร้อม เพอการส่งเสริมคณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย
               4) ข้าราชการครู ร่วมออกแบบและพฒนากระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนและท้องถิ่นอย่าง
                                              ั

                                                                                                       76
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83