Page 74 - thaipaat_Stou_2563
P. 74
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
การยึดมั่นในแนวคิดของตนเอง และ 2) ความรู้ (knowledge) ประกอบด้วย ความรู้ทางสังคม และความรู้เพอ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
Carretero, M. (2015: 295 - 300) ได้ท าการศึกษาคุณลักษณะความเป็นพลเมือง เพอ
ื่
เสริมสร้างประชาธิปไตย จากการศึกษาพบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความรู้ (Knowledge) 2) ทักษะ (Skill)
3) ค่านิยม (Values) และ 4) การกระท า (Action)
สมาคมนานาชาติเพอประเมินสัมฤทธิผลการศึกษา (2016: 24 - 29) (The International
ื่
Association for the Evaluation of Educational Achievement : IEA) ได้พัฒนากรอบการประเมินนานาชาติ
ส าหรับการศึกษาด้านหน้าที่และความเป็นพลเมืองที่เรียกว่า ICCS (International Civic and Citizenship
Education Study) โดยมี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความรู้ความเข้าใจความเป็นพลเมือง (Civic and
citizenship cognitive domains) ประกอบด้วย ความรู้ (Knowing) และการใช้เหตุผลและการน าไป
ประยุกต์ใช้ (Reasoning and applying) และ 2) ความรู้สึก-พฤติกรรมความเป็นพลเมือง (Civic and
citizenship affective-behavioral domains) ประกอบด้วย ทัศนคติ (Attitudes) และการยึดมั่น
(Engagement)
Webster, N. and Others (2018: 159 - 164) ได้ท าการศึกษาความพร้อมและการมี
ปฏิสัมพันธ์ความเป็นพลเมืองของเยาวชนในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาพบว่ามี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การ
ั
รับรู้ที่แสดงถึงความเป็นอตลักษณ์ประจ าชาติ คือ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่พลเมืองของสังคม 2) การ
ปฏิบัติตนบนพื้นฐานประชาธิปไตย คือ การแสดงออกทางทางการเมือง การแสดงถึงการมีส่วนร่วม และ 3) การ
ยึดมั่นในระบบสังคม กฎหมาย และนโยบาย
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ (2554) ได้ท าการศึกษาความเป็นพลเมืองในประเทศไทย โดย
วิเคราะห์องค์ประกอบที่แสดงถึงคุณสมบัติของความเป็นพลเมืองที่เหมาะสมกับสังคมไทย จากการศึกษาพบ 3
่
องค์ประกอบ ได้แก 1) ค่านิยมที่เน้นวัฒนธรรม (Traditional Values) 2) การมีความรู้ (Civic knowledge)
และ 3) การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation)
มิ่งขวัญ คงเจริญ (2555: 97 - 99) ได้ท าการศึกษาองค์ประกอบการเสริมสร้างพลังอานาจ
ชุมชนเพอเสริมสร้างจิตส านึกของความเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย โดยเลือก 3 ชุมชนที่เป็นแบบหรือ
ื่
ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภาครัฐที่มีการสนับสนุนความเป็นประชาธิปไตย จากการศึกษาพบ 3 องค์ประกอบ
ได้แก่ 1) ด้านทักษะ 2) ด้านการมีส่วนร่วม และ 3) ด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตย
ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์ (2557: 96 - 99) ได้ท าการศึกษาพฒนาตัวบ่งชี้ความยึดมั่นผูกพัน
ั
กับความเป็นพลเมืองของนักเรียนไทย จากการศึกษาพบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความรู้ (Knowledge) 2)
ทักษะ (Skill) 3) ทัศนคติ (Attitudes) และ 4) พฤติกรรม (Behavioral)
วิวัฒชัย หล่มศรี (2559: 295 - 297) ได้ท าการศึกษาลักษณะความเป็นพลเมืองพลเมืองตาม
ระบอบประชาธิปไตย ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากการศึกษาพบว่ามี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ความรู้ (Knowledge) 2) ทักษะ (Skill) และ 3) ทัศนคติ (Attitudes)
วรรษกร ค าพงพร์ และเทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย (2560: 178 - 183) ได้ท าการศึกษา
ี
ั
พฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัดความเป็นพลเมืองของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร จาก
72