Page 14 - PAAT_Journal_V1-2019
P. 14
PAAT Journal Vol. 1, No. 1, (June 2019)
ิ
ุ
ํ
่
หากพจารณาถึงสาเหตของการเปลียนแปลงรปแบบการดาเนินงานของกจการธนาคารพาณิชยใน
ู
ิ
์
ู
ี
่
ั
ิ
็
ประเทศไทย จากเดมทเปนระบบตวแทนกัมประโดในยุคแรกมาสูการบริหารธนาคารในรปแบบองค์กร (Firm)
่
ี
ั
้
่
ั
ั
ั
้
่
อยางในปจจุบนบทความนเสนอปัจจยสําคัญ 4 ปจจย ไดแก
ั
้
้
์
ิ
ุ
(1) Contract หรอตนทนการทาสัญญา Ronald H. Coase (1937) ไดใหเหตผลเชงเศรษฐศาสตรถึง
ุ
ํ
ื
้
็
่
ั
ิ
่
้
ั
้
้
ั
ํ
ความจาเปนของการทีจะตองจดตงบรษท (Firm) ขึนก็เมือต้นทุนในการใช้กลไกตลาดสูงกว่าต้นทุนของบริษัท
้
ี
์
ั
ี
ํ
ี
้
ั
ํ
์
้
ิ
็
ั
ดงนน การดาเนนกิจการธนาคารพาณิชยผ่านกมประโดทมลักษณะเปนฟรีแลนซ ทาใหธนาคารมตนทนการทา ํ
ุ
่
ึ
สัญญาสูง เพอให้แนใจวาธนาคารจะไดรับบริการหรอสิงตอบแทนทเปนทพอใจจากกมประโดจงตองมการเขียน
ี
่
้
่
่
ั
ี
่
็
ื
่
้
ื
่
ี
่
สัญญาอยางรอบคอบ มีรายละเอียดทีซับซ้อนและมีต้นทุนการจัดการสูง แต่หากธนาคารบริหารในรูปแบบ
่
ี
ั
่
ี
องค์กรแลว การทาสัญญารบพนกงานใหมเพยงครังเดยวตอนเข้าทางาน จะมรายละเอยดสัญญาเรียบง่ายกวา
ี
ี
้
ั
้
ํ
ํ
่
้
้
และทําใหตนทนการทาสัญญาของธนาคารลดลงได้มาก
ุ
ํ
ั
(2) Economy of Scale หรือการประหยดตอขนาด ในธรกิจธนาคารจะตองมตนทุนคงทเชน อาคาร
้
ุ
้
่
ี
ี
่
่
เงินทุนและต้นทนผันแปรจากการดําเนินงาน เช่น ค่าใช้จ่ายในการประเมินลูกหนี วิเคราะห์สินเชือแต่ละราย
่
้
ุ
์
ิ
ั
่
้
เมอจดตงเปนองค์กรแล้ว ธรกจธนาคารจะไดรับประโยชนจากการประหยดตอขนาดในส่วนของตนทุนคงทท ่ ี
ั
้
้
ั
็
่
่
ุ
ี
ื
่
้
่
็
ตองลงทนสูง ไมวาจะเปนค่าก่อสร้างอาคาร ตึกสาขา ระบบสารสนเทศ และทุนสํารอง ซึงการประหยัดต่อ
ุ
่
ขนาดจะชวยใหธนาคารมผลกําไรเพมขึนดวย
้
่
้
้
่
ี
ิ
ํ
ึ
่
(3) Trust หรือความเชอมนส่วนหนงของขอดจากรูปแบบองค์กรธนาคารขนาดใหญ ทาใหเกิดการ
้
ี
้
่
ั
ื
่
่
่
้
ื
ึ
่
้
่
ํ
ี
้
กระจายความเสียง เมอมเงินฝากจํานวนมากยอมสามารถพจารณาปล่อยกูไดมากขน และทาให้ธนาคารม ี
ิ
่
่
ื
่
ผลตอบแทนเพมขึนสร้างความเชอมันให้กับลูกค้าและการมีสถาบันการเงินทีมีความมันคงเป็นตัวกลาง ทําให้
่
่
ิ
้
้
้
ลูกค้ามนใจไดวาจะยังไดรับอตราผลตอบแทนตามทีตงไวอย
่
ู
้
่
้
่
่
ั
ั
ั
ั
ี
้
็
ั
ั
่
ี
่
ี
(4) Accumulated Skill หรือทักษะทสะสมมาการจดตงเปนธนาคาร และมพนกงานทมความ
ี
ี
เชยวชาญเฉพาะทํางานประจําในองค์กรเปนจานวนมากจนสามารถสังสมทักษะความสามารถประสบการณ ์
่
็
ํ
่
้
ี
่
่
อยางเพยงพอยอมทาใหลูกค้ามันใจในการบริหารงานและความต่อเนืองของการให้บริการได้มากกว่าการทีจะ
่
่
่
ํ
่
พงพากลุมกัมประโดหรือคนเพยงไมกีคน
่
ึ
ี
่
่
้
หลังสงครามโลกครังท 2 ประชาชนมความเข้าใจในการฝากเงินเพมขึนและมความตองการใชบริการ
่
ิ
้
่
้
ี
้
ี
ี
้
ุ
ั
ิ
์
ิ
ื
่
์
ธนาคารพาณชยเพอการเกษตรและดําเนินธรกิจกิจการธนาคารพาณิชยของไทยจึงเจริญเตบโตไดรับการพฒนา
้
ั
ิ
้
่
ทงดานการบริหารงาน การจัดการภายในองค์กร จนสามารถแขงขันกับสาขาธนาคารต่างชาตในประเทศไทย
ั
้
ิ
์
้
่
้
และยงมการตงธนาคารพาณิชยใหม รวมถึงขยายสาขาสูภูมภาคมากยงขึนดวย
ี
ิ
ั
่
่
2. ธนาคารพาณิชย์ยุคอนเทอร์เน็ต
ิ
็
่
่
ุ
์
้
ิ
์
ิ
ั
การเปลียนแปลงของกิจการธนาคารพาณชยในยคตอมา เกิดขึนหลังการพฒนาเครือข่ายอนเทอรเนต
้
ุ
ในประเทศไทย โดยเริมการให้บริการเชงพาณิชยแก่บคคลทวไป ตงแต พ.ศ. 2541 ซงทาใหระบบธนาคาร
ั
่
์
่
้
ั
่
ิ
ํ
ึ
่
่
์
พาณชยไทยค่อย ๆ ปรับปรุงรูปแบบการบริหารองค์กรและการให้บริการเรือยมา ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด
ิ
ู
ิ
ิ
(มหาชน) เปนธนาคารแหงแรกทมเวบไซตเผยแพร่ข้อมลธนาคารผ่านอนเทอร์เน็ตหลังจากนนธนาคารพาณชย ์
็
ี
่
ี
์
็
ั
่
้
่
6 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย