Page 25 - Microsoft Word - PAAT Journal V3-2020-update by ap
P. 25
PAAT Journal Vol. 2, No. 3, June 2020
บทนํา
้
ี
่
ี
้
้
้
ประเทศไทยไดก้าวเขาสูสังคมผูสูงอาย (Aging society) ทมประชากรอายุ 60 ป ขึนไปมากกว่า 10%
ี
ุ
่
ี
้
่
ี
้
่
ุ
ี
่
ี
ี
่
้
ั
หรือมประชาชนทมอาย 65 ปขึนไปมากกวา 7% ตงแตปี 2548 และคาดการณ์วาในอก 20 ปข้างหนา สังคมไทย
ี
ี
ี
็
ุ
ู
้
่
์
้
ิ
่
จะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบรณ (Aged Society) โดยพจารณาจากจํานวนประชากรทีมอาย 60 ปขึนไปมากกวา
่
20% หรือมีประชากรทีมีอายุ 65 ปี ขึนไปเกินกว่า 14% คาดว่าในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผูอายุเกิน 60 ปี
้
้
์
ิ
่
ุ
23.5% (ชมพนท พรหมภักด, 2556: 1) ซงส่งผลกระทบตอการพฒนาประเทศ ดงน ี ้
ั
ู
่
ั
ึ
้
่
ั
้
ี
ิ
1. สถานะด้านการคลัง พบวา ภาครฐบาลมภาระค่าใชจายดานสาธารณสุขและสวสดการ เพอดแล
่
ื
่
ู
ั
ี
่
ิ
ี
่
่
้
ประชากรสูงอายุทมจํานวนเพมสูงขึ้นตามไป นําไปสูการขาดดุลงบประมาณและเกิดหนีสาธารณะ โดยงบประมาณ
้
ั
รายจายเกยวกับผูสูงอาย ครอบคลุมเบียยังชพ (แบบขันบนได) กองทนการออมแห่งชาต กิจกรรมการส่งเสริม
้
ิ
ุ
่
ี
ี
่
ุ
้
ื
่
่
ึ
ั
์
ํ
้
้
ผูสูงอาย เงินสงเคราะหจดการศพ บานาญขาราชการ และการประกันสังคม ซงเมอศึกษาผลการประมาณการ
ุ
ิ
้
้
่
ื
่
รายจ่ายสวสดการเพอผูสูงอายในช่วงปี 2555-2564 พบว่า รายจ่ายทีเกิดขึนโดยรวมมีแนวโน้มเพิมขึนตลอด โดย
ั
ุ
้
่
ี
้
ุ
้
้
่
่
ึ
่
ั
ิ
ื
โตขึนเกือบสามเท่าในชวงเวลา 10 ปี ซงมเหตผลหลกเนองจากจํานวนผูสูงอายทีเพมขึน รายจ่ายสวสดการ
ิ
่
ุ
ั
่
ี
ั
่
้
ผูสูงอายทสูงขึนอยางมากคือเบยยงชพผูสูงอาย ตามมาด้วยรายจ่ายเพือหลักประกันรายได้อันได้แก่บํานาญ
ี
่
้
ุ
ุ
ี
้
้
่
ั
ั
ุ
่
่
ี
ิ
้
่
ข้าราชการ บานาญประกนสังคม และบํานาญกองทนการออมแหงชาต ทงนรายจ่ายในส่วนทอยูอาศยและ
ั
ี
้
ํ
ุ
่
ื
ื
่
ิ
้
ี
ั
ั
ั
ู
กิจกรรมเพอผสูงอายยงมสัดส่วนค่อนข้างน้อย (สถาบันวจยเพอการพฒนาประเทศไทย และคณะ, 2555: 58)
่
่
้
2. ภาคการผลตของประเทศ พบวา ดานอปสงค์ คือ ระดับรายจ่ายเพือการบรโภคทีขึนอยูกับระดับ
ุ
้
ิ
่
่
ิ
ุ
้
้
่
ี
้
รายไดผูสูงอาย รูปแบบการบริโภคในสังคมผูสูงอายุทีมการเปลียนแปลงไปจากเดม และดานอปทาน คือ ข้อมล
ู
่
้
ุ
ิ
ํ
ุ
่
่
อาชพผูสูงอายในททางานทีมทังแรงงานในระบบและนอกระบบ ผูสูงอายทเปนแรงงานในระบบส่วนใหญประกอบ
้
ี
ี
ี
็
้
้
ี
่
ุ
่
ี
ื
้
ี
อาชพขันพนฐานตาง ๆ ในด้านการขาย รองลงมาคือ ผูปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝมือและธุรกิจ มีการค้า
้
้
่
ิ
้
ื
่
ี
ั
้
ั
ร้อยละ 16.7 พนักงานบริการและพนกงานขายในรานร้อยละ 16.4 ผูปฏิบตงานทีมฝีมอในด้านการเกษตรและ
ั
ั
ั
้
้
้
ิ
ั
ุ
ประมงร้อยละ 11.8 และผูบญญตกฎหมาย ข้าราชการระดบอาวโส และผูจดการร้อยละ 10.6 สําหรับผูสูงอายุที ่
่
่
ื
ู
ี
อยในแรงงานนอกระบบ ส่วนใหญประกอบอาชพทีใชฝีมอในดานการเกษตรและประมง ร้อยละ 67.0 รองลงมา
้
้
่
ิ
ู
้
ื
้
เปนพนกงานบริการและพนักงานขายในรานค้าร้อยละ 19.9 และผปฏิบัตงานด้านความสามารถทางฝีมอและ
ั
็
ี
่
ั
่
็
ุ
้
ึ
้
้
ธรกิจการคา ร้อยละ 6.8 เปนตน ซงภาครัฐบาลและเอกชนต้องมการเตรียมพร้อมในการแกไขปญหาแรงงานทีมี
่
ั
แนวโน้มลดลง ภาครฐบาลควรมมาตรการเพอส่งเสรมการมส่วนร่วมในกําลังแรงงานของประชากรในกลุม
่
ื
ี
ี
ิ
ี
่
ุ
้
้
ประชากรสูงวย ใหระบบการจ้างแรงงานมความยดหยนมากขึนเพอแก้ไขปัญหาแรงงานและการสรางโอกาสให้กบ
ื
ื
ั
้
่
ั
็
ี
่
ี
่
้
่
้
้
่
ผูสูงอาย กลุมทตองการทํางานเพือเปนรายได้ในการเลียงชพ เชน การจ้างงานภาคราชการโดยขยายการ
ุ
่
ุ
ุ
ี
ี
่
่
้
เกษยณอายใหมขอบเขตครอบคลมกับกลุมลูกจ้างหลายกลุม เป็นต้น สําหรับในส่วนภาคเอกชน พนักงานทีมีอายุ
ั
่
้
ี
ั
ื
ั
ุ
ํ
มากอาจไดรับแรงกดดนใหเลิกทางานก่อนวยเกษยณโดยเหตผลอนเนืองมาจากสภาพการทํางานหรอเป็นเพราะ
้
ึ
่
ั
ี
่
ี
ื
ฐานเงินเดอนทสูง ซงทําใหบริษทมความสนใจทจะจ้างพนกงานรุนใหมเข้ามาแทนที (พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระกุล,
่
่
่
ี
้
ั
่
ุ
ู
ม.ป.ป.; ชมพนท พรหมภักด, 2556: 1)
์
ิ
้
่
ุ
ี
่
ื
ึ
่
่
ี
3. ดานนโยบายรัฐบาลทมจดออน คอ การเปลียนแปลงนโยบายตามการเปลียนแปลงรัฐบาล จงพบ
ั
ปญหาด้านความตอเนอง ส่งผลต่อการบริหารจดการภาครฐไทยภายใต้ระบบรฐสวสดการ (พภัสสรณ วรภัทร์ถิระ
์
่
ิ
่
ั
ั
ื
ั
ั
กุล, 2560: 111)
ุ
ั
้
ิ
้
่
็
่
ิ
ี
จากสถานการณ์และปญหาข้างตนเปนทีมาของบทความวชาการเรือง คุณภาพชวตของผูสูงอาย:
้
์
ี
ั
่
ื
์
ิ
่
สถานการณและแนวทางการจัดสวสดการในประเทศไทยภายใตการเปลียนแปลงทางสงคม มวตถุประสงคเพอ
ั
ั
่
17 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย