Page 26 - thaipaat_Stou_2563
P. 26

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                          บทน ำ
                       ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) ที่มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่า 10%

                                                                                           ี
               หรือมีประชาชนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 7% ตั้งแต่ปี 2548 และคาดการณ์ว่าในอก 20 ปีข้างหน้า
               สังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยพิจารณาจากจ านวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้น
               ไปมากกว่า 20%  หรือมีประชากรที่มีอายุ 65 ปี ขึ้นไปเกนกว่า 14% คาดว่าในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผู้
                                                               ิ
                                                                                  ั
               อายุเกิน 60 ปี 23.5% (ชมพูนุท พรหมภักดิ์, 2556: 1) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพฒนาประเทศ ดังนี้
                       1. สถานะด้านการคลัง พบว่า ภาครัฐบาลมีภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขและสวัสดิการ เพอดูแล
                                                                                                     ื่
               ประชากรสูงอายุที่มีจ านวนเพิ่มสูงขึ้นตามไป น าไปสู่การขาดดุลงบประมาณและเกิดหนี้สาธารณะ โดยงบประมาณ
               รายจ่ายเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ครอบคลุมเบี้ยยังชีพ (แบบขั้นบันได) กองทุนการออมแห่งชาติ กิจกรรมการส่งเสริม
                                                                        ั
               ผู้สูงอายุ เงินสงเคราะห์จัดการศพ บ านาญข้าราชการ และการประกนสังคม ซึ่งเมื่อศึกษาผลการประมาณการ
                                                                                                 ิ่
                                                                                                   ึ้
               รายจ่ายสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุในช่วงปี 2555-2564 พบว่า รายจ่ายที่เกิดขึ้นโดยรวมมแนวโน้มเพมขนตลอด
                                                                                        ี
               โดยโตขึ้นเกือบสามเท่าในช่วงเวลา 10 ปี ซึ่งมีเหตุผลหลักเนื่องจากจ านวนผู้สูงอายุที่เพมขึ้น รายจ่ายสวัสดิการ
                                                                                      ิ่
                                                                          ื่
               ผู้สูงอายุที่สูงขึ้นอย่างมากคือเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ตามมาด้วยรายจ่ายเพอหลักประกันรายได้อนได้แก่บ านาญ
                                                                                             ั
               ข้าราชการ บ านาญประกันสังคม และบ านาญกองทุนการออมแห่งชาติ ทั้งนี้รายจ่ายในส่วนที่อยู่อาศัยและ
               กิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุยังมีสัดส่วนค่อนข้างน้อย (สถาบันวิจัยเพื่อการพฒนาประเทศไทย และคณะ, 2555: 58)
                                                                      ั
                                                                                 ื่
                       2. ภาคการผลิตของประเทศ พบว่า ด้านอปสงค์ คือ ระดับรายจ่ายเพอการบริโภคที่ขึ้นอยู่กับระดับ
                                                          ุ
               รายได้ผู้สูงอายุ รูปแบบการบริโภคในสังคมผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และด้านอปทาน  คือ ข้อมูล
                                                                                           ุ
               อาชีพผู้สูงอายุในที่ท างานที่มีทั้งแรงงานในระบบและนอกระบบ ผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานในระบบส่วนใหญ่ประกอบ
               อาชีพขั้นพนฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย รองลงมาคือ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ มีการค้า
                        ื้
               ร้อยละ 16.7 พนักงานบริการและพนักงานขายในร้านร้อยละ 16.4 ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและ
               ประมงร้อยละ 11.8 และผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการร้อยละ 10.6 ส าหรับผู้สูงอายุ
               ที่อยู่ในแรงงานนอกระบบ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่ใช้ฝีมือในด้านการเกษตรและประมง ร้อยละ 67.0 รองลงมา

               เป็นพนักงานบริการและพนักงานขายในร้านค้าร้อยละ 19.9 และผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและ
               ธุรกิจการค้า ร้อยละ 6.8 เป็นต้น ซึ่งภาครัฐบาลและเอกชนต้องมีการเตรียมพร้อมในการแกไขปัญหาแรงงานที่มี
                                                                                         ้
               แนวโน้มลดลง ภาครัฐบาลควรมีมาตรการเพอส่งเสริมการมีส่วนร่วมในก าลังแรงงานของประชากรในกลุ่ม
                                                     ื่
                                                                    ื่
               ประชากรสูงวัย ให้ระบบการจ้างแรงงานมีความยืดหยุ่นมากขึ้นเพอแก้ไขปัญหาแรงงานและการสร้างโอกาสให้กับ
               ผู้สูงอายุ กลุ่มที่ต้องการท างานเพอเป็นรายได้ในการเลี้ยงชีพ เช่น การจ้างงานภาคราชการโดยขยายการ
                                            ื่
               เกษียณอายุให้มีขอบเขตครอบคลุมกับกลุ่มลูกจ้างหลายกลุ่ม เป็นต้น ส าหรับในส่วนภาคเอกชน พนักงานที่มีอายุ
               มากอาจได้รับแรงกดดันให้เลิกท างานก่อนวัยเกษียณโดยเหตุผลอันเนื่องมาจากสภาพการท างานหรือเป็นเพราะ

                                                                                                        ุ
               ฐานเงินเดือนที่สูงซึ่งท าให้บริษัทมีความสนใจที่จะจ้างพนักงานรุ่นใหม่เข้ามาแทนที่ (พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระกล,
               ม.ป.ป.; ชมพูนุท พรหมภักดิ์, 2556: 1)
                       3. ด้านนโยบายรัฐบาลที่มีจุดออน คือ การเปลี่ยนแปลงนโยบายตามการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล จึงพบ
                                                ่
               ปัญหาด้านความต่อเนื่อง ส่งผลต่อการบริหารจัดการภาครัฐไทยภายใต้ระบบรัฐสวัสดิการ (พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระ

               กุล, 2560: 111)
                       จากสถานการณ์และปัญหาข้างต้นเป็นที่มาของบทความวิชาการเรื่อง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ:
                                                                                                        ื่
               สถานการณ์และแนวทางการจัดสวัสดิการในประเทศไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีวัตถุประสงค์เพอ
               น าเสนอสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย ผลกระทบและน าเสนอแนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสม

               ส าหรับผู้สูงอายุเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีรายละเอียด ดังนี้

                                                                                                       24
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31