Page 28 - thaipaat_Stou_2563
P. 28

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                             ้
               ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับ คือ ประเทศสามารถหลุดพนจากกับดักรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap:
               MIT) ด้วยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าสูงอย่างยั่งยืน

                                                                             ิ่
                       โดยสรุปกระทรวงแรงงานได้มีการก าหนดยุทธศาสตร์ที่ 1: การเพมศักยภาพแรงงานให้พร้อมกับการ
                            ื่
                                ิ่
               เปลี่ยนแปลงเพอเพมผลิตภาพอย่างยั่งยืน ด าเนินการโดย 1) ส่งเสริมพฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานไทยให้ได้
                                                                           ั
               มาตรฐานสากล 2) ด าเนินการเชิงรุกควบคู่กัน 3) พฒนาและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการเข้าสู่ระบบ
                                                           ั
               มาตรฐานแรงงานไทย 4) “ซ่อม” กลุ่มแรงงานทักษาฝีมือต่ าและค่อนข้างต่ า (Unskilled & Semi Skill) ใน
               ระยะแรก และในระยะต่อไปจะต้องเน้น “เสริม” และ “สร้าง” ควบคู่กันไป 5) มุ่งเน้นพฒนาคนเพอรองรับ
                                                                                          ั
                                                                                                   ื่
               กลุ่มอตสาหกรรมก้าวหน้า (Advanced Industry) กลยุทธ์ที่ 3 มุ่งสร้างวัฒนธรรมการด าเนินชีวิตและการ
                     ุ
                                                                                         ื่
               ท างานที่เน้นให้มีผลิตภาพสูงตลอดช่วงวัยรวมถึงส านักงานประกันสังคมได้มีการศึกษาเพอการปฏิรูประระบบ
               บ านาญให้สามารถรองรับกับสถานการณ์การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เช่น สิทธิประโยชน์กรณีรับเงินบ านาญเพอให้
                                                                                                      ื่
               ผู้ที่รับบ านาญได้รับเงินบ านาญที่เพยงพอกับการยังชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ระยะเวลาที่จะเกษียณอายุ ทั้งนี้
                                            ี
               กลุ่มผู้สูงอายุควรมีการพฒนาทักษะการท างานในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีศักยภาพและขยายโอกาสการสร้างงานที่
                                    ั
               เหมาะสม การส่งเสริมให้คนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม โดยควบคุม/ป้องกันปัจจัยเสี่ยงทางสังคมที่กาหนด

               สุขภาพ สร้างความตระหนักและรอบรู้เรื่องสุขภาพ พัฒนารูปแบบการกีฬาและโภชนาการที่เหมาะสมกับแต่ละ

               ช่วงวัย การสร้างสภาพแวดล้อม/นวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย โดยการวิจัยและพฒนานวัตกรรมที่
                                                                                           ั
               เหมาะสมกับการดูแลผู้สูงอายุปรับสภาพแวดล้อมให้เออต่อสังคมสูงวัย และพฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ
                                                                               ั
                                                            ื้
               การเสริมสร้างสถาบันครอบครัวและสถาบันศาสนาให้เป็นฐานในการบ่มเพาะคนให้มีคณภาพโดยสร้างความอยู่
                                                                                     ุ
                                                                                     ู
               ดีมีสุขของครอบครัวไทย ส่งเสริมบรรทัดฐานในการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ฟนฟบทบาทสถาบันศาสนาใน
                                                                                  ื้
               การส่งเสริมศีลธรรม/คุณธรรม/จริยธรรม (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน, 2559: 2-3)
                       2. รูปแบบสวัสดิกำรสังคมผู้สูงอำยุในประเทศไทย
                       นักวิชาการไทยสรุปรูปแบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไว้ ดังนี้
                       สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์ (2557: 77-81) ได้อธิบายถึงรูปแบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ประกอบด้วย

                       1. การประกันสังคม (Social Insurance) เป็นการสร้างหลักประกันความมั่นคงในการด ารงชีวิตและ
               คุ้มครองลูกจ้าง ปัญหาการขาดรายได้เมื่อเกษียณอายุการท างาน สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปท าให้ผู้สูงอายุ
               ได้รับการเกื้อหนุนจากครอบครัวน้อยลง ปัญหาสุขภาพที่เรื้อรังส่งผลให้ตัวเลขค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง

                       ระบบประกันสังคมในประเทศไทย ประกอบด้วยกองทุนต่าง ๆ ดังนี้ 1) กองทุนประกันสังคมกรณีชรา
               ภาพ เป็นการส่งเสริมการออมส าหรับกลุ่มแรงงานที่เป็นลูกจ้างในภาคเอกชนของกระทรวงแรงงาน 2) กองทุน
               บ าเหน็จบ านาญข้าราชการ (กบข.) เป็นการออมภาคบังคับส าหรับกลุ่มข้าราชการ 3) กองทุนส ารองเลี้ยงชีพ
               ส าหรับลูกจ้างประจ าของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียน (กสจ.) ผลประโยชน์ที่ได้รับ คือ เงินบ าเหน็จลูกจ้างและ

               เงินที่สมาชิกส่งสบทบเข้ากองทุน 4) กองทุนส ารองเลี้ยงชีพ เป็นจุดเริ่มต้นของการส่งเสริมการออมแบบสมัคร
                                 ื่
               ใจ 5) กองทุนรวมเพอการเลี้ยงชีพ เป็นการออมแบบสมัครใจ ส าหรับกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีก าลังการออม
               มาก 6) กองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชนซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งขึ้นเป็นการออมภาค
               บังคับ 7) กองทุนทวีสุข เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นโดยธนาคารเพอการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพื่อส่งเสริม
                                                                  ื่
               ให้เกษตรกรออมเงินไว้ใช้เป็นสวัสดิการแก่ตนเองและครอบครัว 8) กองทุนสวัสดิการชุมชนเป็นการส่งเสริม
               การออมในระดับชุมชน เพอสร้างหลักประกันความมั่นคงของคนในชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยสถาบัน
                                      ื่
                 ั
               พฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) และ 9) กองทุนการออมชราภาพ (กอช.) กระทรวงการคลังเป็นผู้จัดตั้ง
               กองทุน เป็นกองทุนการออมเพื่อการชราภาพขั้นพื้นฐานแบบสมัครใจ




                                                                                                       26
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33