Page 30 - thaipaat_Stou_2563
P. 30
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
3.3 ด้านที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย การสงเคราะห์ที่อยู่อาศัยและการดูแลเป็นบริการในสถานสงเคราะห์
ส าหรับผู้สูงอายุที่ครอบคลุมความจ าเป็นด้านปัจจัย 4 รวมทั้งบริการด้านการรักษา พยาบาล กายภาพบ าบัด
ศาสนกิจ งานอดิเรก นันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม ปัจจุบันมีสถานสงเคราะห์ของรัฐ 21 แห่ง
3.4 ด้านการมีงานท าและการมีรายได้ ประกอบด้วย กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุ สถาบันพัฒนาองค์กร
ชุมชน (องค์การมหาชน) จัดท าโครงการที่ยึดหลักการให้ผู้สูงอายุเป็นแกนน าในการก าหนดและตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุกันเอง
3.5 ด้านบริการสังคมและนันทนาการ ประกอบด้วย 1) ชมรมผู้สูงอายุ รูปแบบบริการทางสังคมสา
หรับผู้สูงอายุที่มีการพัฒนาขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน ชมรมผู้สูงอายุเป็นการรวมกลุ่มกันทางสังคมของผู้สูงอายุที่
ั
ุ
มีความสนใจและมีอดมการณ์ร่วมกันในการที่จะพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะการสร้างคุณภาพ
่
ทั้งทางกาย จิต และสังคม เพื่อให้ชีวิตมีคุณคาและมีคุณประโยชน์ทั้งแก่ตนเอง ครอบครัวและสังคม โดยมีสภา
ผู้สูงอายุและกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ แต่ผู้บริหารจัดการและด าเนินการหลัก คือ กลุ่ม
ผู้สูงอายุ การด าเนินงานของชมรมผู้สูงอายุในลักษณะเครือข่าย ท าให้งานด้านผู้สูงอายุเข้มแข็งมากขึ้น 2) ศูนย์
อเนกประสงค์ส าหรับผู้สูงอายุ เป็นสถานที่ที่เป็นศูนย์รวมขององค์การ ชุมชน ผู้สูงอายุ เพอจัดกิจกรรมด้าน
ื่
สุขภาพ สังคม จิตและปัญญา โดยมีแนวคิดพื้นฐานคือการใช้ชุมชนเป็นฐานในการให้บริการ การดูแลระยะยาว
ื่
ส าหรับผู้สูงอายุ และการจัดบริการแบบองค์รวม 3) ศูนย์ชุมชนเพอผู้สูงอายุ ให้บริการโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายจาก
ผู้สูงอายุ การบริการที่จัดให้ เช่น กายภาพบ าบัด อาชีวบ าบัด ออกก าลังกาย ศาสนกิจ กิจกรรมนันทนาการ
ื่
ตลอดจนกิจกรรมในวันส าคัญต่าง ๆ 4) ศูนย์บริการผู้สูงอายุในวัด เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นมาเพอสนับสนุนให้
ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของตนเอง โดยมีวัดหรือสถาบันทางศาสนาเป็นศูนย์กลางในการ
ุ
จัดกิจกรรม และ 5) กองทุนผู้สูงอายุ เพอสนับสนุนอดหนุนโครงการส าหรับองค์กรของผู้สูงอายุหรือองค์กรที่
ื่
ื่
ท างานด้านผู้สูงอายุเพอคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุ ให้มีศักยภาพ มีความมั่นคง และมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี
4. การช่วยเหลือเกื้อกูลของภาคประชาชน เป็นการจัดสวัสดิการสังคมโดยกลุ่มต่าง ๆ เป็น
ผู้ด าเนินการหลัก เช่น การจัดสวัสดิการชุมชนที่ครอบคลุมการเกิด แก่ เจ็บ ตาย กลุ่มออมทรัพย์ ที่มีรูปธรรม
ก้าวหน้าชัดเจนทั้งเชิงองค์ความรู้ กลไก และพนที่ด าเนินการ ในอกด้านหนึ่งภาคธุรกิจเอกชนที่เดิมมุ่งหวัง
ี
ื้
ผลประโยชน์ขององค์กรเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันได้ปรับบทบาทเข้ามาช่วยเหลือร่วมรับผิดชอบปัญหาสังคมมาก
ขึ้น นอกจากนี้ยังมีการจัดสวัสดิการโดยปัจเจกชน อาทิ การซื้อประกันชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ผ่านกิจการ
ประกันภัยของเอกชน ซึ่งเข้ามาช่วยเติมเต็มหรือยกระดับสวัสดิการในภาพรวมให้สมบูรณ์มากขึ้นอย่างมาก
3. กฎหมำยและนโยบำยด้ำนผู้สูงอำยุเกี่ยวกับกำรจัดบริกำรสุขภำพ
จากการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายด้านผู้สูงอายุเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในต่างประเทศ สามารถ
สรุป ดังตารางที่ 1
28