Page 27 - thaipaat_Stou_2563
P. 27

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓




                                             กรอบแนวคิดและนโยบำยที่เกี่ยวข้อง

                       1. นโยบำยด้ำนแรงงำนของกระทรวงแรงงำน: กรอบยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ของ
               ประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
                                                                  ั
                       กระทรวงแรงงานได้จัดท ากรอบยุทธศาสตร์ การพฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศระยะ 20 ปี
               (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยมีความสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)

                        ั
               และแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นแผนระยะ 5 ปี แรกของ
                                                          ี
                    ั
               การพฒนาประเทศ ในการนี้ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ในอก 20 ปีข้างหน้าคือ“ทรัพยากรมนุษย์มีคุณค่าสูง สู่ความ
               ยั่งยืน” แบ่งการด าเนินการเป็น 4 ช่วง คือ
                       ช่วงที่ 1 Productive Manpower (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นวางรากฐานด้านแรงงานที่เป็น

               มาตรฐานสากล โดยการ ขจัดอุปสรรค เร่งพัฒนา เดินหน้าขับเคลื่อน เร่งรัดการรับมือกับปัญหาเติมทักษะใหม่
                                                             ั
               (re-skill) และเติมทักษะด้าน STEM (ย่อจากภาษาองกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์
               (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics)
               หมายถึง องค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์

                                                                                          ื่
               ความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการด าเนินชีวิตและการท างาน) ให้แก่แรงงานเพอให้เกิดการเปลี่ยน
               ผ่านในโลกของการท างานที่ราบรื่น (smooth transition) ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการ
               พัฒนาเศรษฐกิจในระยะถัดไปผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับมี 2 มิติ คือ

                       มิติคน: แรงงานไทยมีผลิตภาพสูง มีทักษะหลากหลาย (multi-skill) มีทักษะใหม่ (re-skilled) มี
               ทักษะด้าน STEM สามารถท างานในยุคเริ่มต้นของการเข้าสู่ Thailand 4.0 ได้อย่างราบรื่น
                       มิติมาตรฐานการขับเคลื่อนวงจรแรงงาน: มีมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติที่
               เชื่อมโยงกับมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติครบทุกสาขาอาชีพตามอตสาหกรรมแห่งอนาคต (New Engines
                                                                         ุ
               of Growth) และมีมาตรฐานความปลอดภัยในการท างานที่เป็นมาตรฐานสากล

                       ช่วงที่ 2 Innovative Workforce (พ.ศ. 2565 – 2569) มุ่งเน้นทรัพยากรมนุษย์ของประเทศที่
               เป็นประชาชนของโลก (Global citizen) โดยการปรับปรุง สร้างระบบการจ้างงาน รวมทั้งการพฒนาแรงงาน
                                                                                               ั
               ให้มีความพร้อมในการทางานภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม และการจ้างงานข้ามแดน

                       ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับมี 2 มิติ คือ มิติคน: แรงงานไทยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ
               ที่สามารถท างานในยุคที่ภาคเศรษฐกิจใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและนวัตกรรมเต็มรูปแบบได้อย่างราบรื่น มิติ
               มาตรฐานการขับเคลื่อนวงจรแรงงาน: มีระบบการจ้างงานที่หลากหลายรูปแบบเป็นระบบที่ยืดหยุ่นเหมาะสม
               กับคุณลักษณะของทรัพยากรมนุษย์หลากหลายประเภท

                       ช่วงที่ 3 Creative Workforce (พ.ศ. 2570 - 2574) มุ่งเน้นทรัพยากรที่มีความคิดสร้างสรรค์ใน
                                                ื่
               การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แกการท างาน เพอสร้างความยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) และมีผลิต
                                    ่
               ภาพ (Productivity) และมีงานที่มีคุณค่าถ้วนหน้า (Decent Work) มีทักษะด้าน STEM ทักษะ R&D
               ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับคือ ประเทศไทยบรรลุวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนในกรอบของสหประชาชาติ (SDGs) มี

               การจ้างงานที่เต็มที่ (Full Employment) มีผลิตภาพ (Productivity) และการมีงานที่มีคุณค่าถ้วนหน้า
               (Decent Work)
                       ช่วงที่ 4 Brain Power (พ.ศ. 2575 - 2579) มุ่งเน้นสังคมการท างานแห่งปัญญาโดยการเพม
                                                                                                        ิ่
               จ านวนทรัพยากรมนุษย์ที่มีทักษะด้าน STEM และใช้สติปัญญาในการท างานที่มูลค่าสูง (High Value)




                                                                                                       25
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32