Page 29 - thaipaat_Stou_2563
P. 29

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       2. การช่วยเหลือสาธารณะ (Public Assistance) เป็นการสงเคราะห์แบบให้เปล่าส าหรับผู้ที่ต้องการ
                                                                                 ึ่
               ความช่วยเหลือ เนื่องจากช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ด้อยโอกาสทางสังคม และไร้ที่พง รูปแบบของสวัสดิการที่มีอยู่
               คือ 1) เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เป็นการจ่ายเงินแบบให้เปล่า ตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554
               ให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ.) จ่ายเบี้ยยังชีพแบบขั้นบันไดให้กับผู้สูงอายุ โดยผู้ที่มีอายุ 60-69
               ปี ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ 600 บาทต่อเดือน ผู้ที่มีอายุ 70-79 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ 700 บาทต่อเดือน ผู้
               ที่มีอายุ 80-89 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ 800 บาทต่อเดือน และผู้ที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ

               1,000 บาทต่อเดือน โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 เป็นต้นไป 2) กองทุนดูแลผู้สูงอายุที่
                      ึ่
                                            ิ
               ขาดที่พง โดยส านักส่งเสริมและพทักษ์ผู้สูงอายุ เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุกรณีเดือดร้อนจากการ
               ทารุณกรรม ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฏหมายและถูกทอดทิ้ง การสนับสนุนการจัดการงานศพ
               ผู้สูงอายุที่มีฐานะยากจน และการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนเรื่องที่พกอาศัย อาหาร
                                                                                             ั
               และเครื่องนุ่งห่ม 3) การได้รับค าปรึกษาในทางคดี การช่วยเหลือจากการทารุณกรรมและถูกทอดทิ้ง โดย
               กระทรวงยุติธรรมให้ค าแนะน า ปรึกษา ที่เกี่ยวข้องในทางคดีส าหรับผู้สูงอายุ 4) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่
               ของรัฐ โดยกระทรวงคมนาคม และกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ ฯ ให้ผู้สูงอายุเข้าชมฟรี 5) การช่วยเหลือ
               ด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม โดยกระทรวงคมนาคม ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุ โดยรถไฟ/

               รถไฟฟ้า/รถ บขส./ขสมก. ลดค่าโดยสารครึ่งราคาและการบินไทยลดค่าโดยสารภายในประเทศ ร้อยละ 15
                                                                                                 ื้
                       3. การบริการสังคม (Social Service) เป็นระบบบริการที่ตอบสนองความต้องการขั้นพนฐานของ
               ประชาชนประกอบด้วยบริการด้าน ต่าง ๆ 5 ด้าน คือ

                                                                                                 ื้
                       3.1 ด้านสุขภาพอนามัย ประกอบด้วย 1) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ถือเป็นสิทธิขั้นพนฐานของ
               ประชาชนทุกคน ให้บริการครอบคลุมด้านการตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการส่งเสริมสุขภาพและ
               ป้องกันโรค ด าเนินงานโดยส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 2) การบริการทางการแพทย์และ
               การสาธารณสุขจาก พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) มี
               การจัดช่องทางเฉพาะส าหรับผู้สูงอายุแยกจากผู้รับบริการทั่วไปในแผนกผู้ป่วยนอก 3) โรงพยาบาลส่งเสริม

               สุขภาพประจ าต าบล เป็นโครงการดูแลสุขภาพที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่น บนพนฐาน
                                                                                                     ื้
               แนวคิด “หุ้นส่วนการดูแล” ประกอบด้วยประชาชนในพนที่ สถานบริการสุขภาพ และองค์กรปกครองส่วน
                                                               ื้
                                                                             ี
               ท้องถิ่น 4) การดูแลที่บ้าน (Home Care) เป็นบริการส าหรับผู้สูงอายุอกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเหมาะกับผู้ป่วย
               ผู้สูงอายุที่อาการไม่รุนแรงและไม่สะดวกในการเดินทางมารักษาที่โรงพยาบาล การลดค่าเดินทางของ
                                              ึ
               ผู้ใช้บริการ และผู้สูงอายุส่วนมากพงพอใจที่จะรับการรักษาพยาบาลที่บ้าน 5) โครงการอาสาสมัครดูแล
               ผู้สูงอายุ (อผส.) เป็นโครงการที่มุ่งแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุขาดผู้ดูแล ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ถูกทอดทิ้ง ถูกละเลย
                  ิ
               เพกเฉย และผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลไม่ถูกต้อง โดยอาศัยการสร้างอาสาสมัคร จากอาสาสมัครสาธารณสุข
                                                                                                ู
                                                                                             ื้
               ประจ าหมู่บ้าน (อสม.) หรือประชาชนในชุมชนที่สมัครใจท าหน้าที่เป็นผู้ให้การดูแลช่วยเหลือฟนฟผู้สูงอายุใน
               ชุมชน
                       3.2 ด้านการศึกษา ประกอบด้วย 1) การศึกษา นอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการโดยศูนย์ส่งเสริม
               การศึกษานอกโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายพเศษ (ศกพ.) ได้พฒนาแนวทางการจัดการศึกษานอกโรงเรียนส าหรับ
                                                               ั
                                                ิ
               ผู้สูงอายุตามความต้องการและความสนใจของผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส าหรับผู้สูงอายุ
               การเสริมสร้างคุณค่าและการพฒนาที่ยั่งยืนส าหรับผู้สูงอายุ การเสริมสร้างความร่วมมือเพอความเข้มแข็งของ
                                                                                          ื่
                                         ั
                                                           ิ
                                                                                               ิ
               องค์กรผู้สูงอายุ เป็นต้น 2) การศึกษาเกี่ยวกับคอมพวเตอร์ เช่น “ชมรมการศึกษาเกี่ยวกับคอมพวเตอร์ (Old
                                                                                                ิ
               People Playing Young Club: OPPY)” เป็นชมรมที่มุ่งเผยแพร่ความรู้และทักษะในการใช้คอมพวเตอร์และ
               อินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุจะต้องจ่ายค่าบริการเอง
                                                                                                       27
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34