Page 261 - thaipaat_Stou_2563
P. 261

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓





               Keyword: Member of Parliament, Election, Undergraduate Students, Pibulsongkram Rajabhat
               University

               ที่มำและควำมส ำคัญ
                           นับตั้งแต่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครอง  24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีผลท าให้สยามเปลี่ยน
               รูปแบบการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเปลี่ยน

                                  ี
               รูปแบบการปกครองอกครั้งไปเป็นรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ที่เกิดขึ้นจากคณะ
               นายทหารและพลเรือนที่รวมตัวกัน ที่เรียกตนเองว่า "คณะราษฎร" โดยมีผลพวงมาจากการเปลี่ยนแปลงทาง
               ประวัติศาสตร์โลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและการเมืองภายในประเทศ การปฏิวัตินี้จึงท าให้

               ประเทศสยามมีรัฐธรรมนูญฉบับแรก ภายหลังในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จึงได้มีการขอพระราชทาน
               พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองประเทศไทย ฉบับปีพ.ศ. 2475 ซึ่งมีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญ แต่เรียกว่า
               พระราชบัญญัติ ซึ่งต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2560 ในมาตรา 258 บัญญัติว่า “ให้
               ด าเนินการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองใน

                                   ั
               ระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมทางการเมือง

               รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ รู้จักยอมรับในความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตที่แตกต่างกัน และให้
                                                              ิ
               ประชาชนใช้สิทธิเลือกตั้งและออกเสียงประชามติโดยอสระปราศจากการครอบง าไม่ว่าด้วยทางใด ให้การ
                                                                                ื่
               ด าเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเป็นไปโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้ เพอให้พรรคการเมืองพฒนาเป็น
                                                                                                  ั
                                                        ์
               สถาบันทางการเมืองของประชาชนซึ่งมีอุดมการณทางการเมืองร่วมกัน มีกระบวนการให้สมาชิกพรรคการเมือง
               มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบอย่างแท้จริงในการด าเนินกิจกรรมทางการเมืองและการคัดเลือกผู้มีความรู้
               ความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต และมีคุณธรรมจริยธรรม เข้ามาเป็นผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองที่ชัดเจนและเป็น
               รูปธรรม มีกลไกที่ก าหนดความรับผิดชอบของพรรคการเมืองในการประกาศโฆษณานโยบายที่มิได้วิเคราะห์

               ผลกระทบ ความคุ้มค่า และความเสี่ยงอย่างรอบด้าน มีกลไกที่ก าหนดให้ผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองต้อง
               ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบต่อประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของตน มีกลไกแก้ไข
                                                                                                   ั
               ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตริย์ทรง
               เป็นประมุข (รัฐธรรมนูญ 2560 : มาตรา 258, น.77-80)
                      จากบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญข้างต้นจะมองเห็นว่ารัฐต้องมีการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
               โดยการสร้างแนวทางให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้นเพอให้ประชาชน
                                                                                              ื่
               สามารถที่จะเข้าถึงหลักสิทธิและหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องที่สุดโดยไม่ขัดต่อหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นๆ
               การปกครองในระบอบประชาธิปไตยถือได้ว่าเป็นการปกครองที่ดีที่ทั่วโลกยอมรับค าว่าประชาธิปไตยมี

               ความหมายทั้งในรูปแบบการปกครองและปรัชญาในการด ารงชีวิตร่วมกันของมนุษย์ ในแง่การปกครองมุ่งถึง
                                                                   ั
               การมีส่วนร่วมของประชาชน การที่จะเข้าร่วมนโยบายต่างๆ อนเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ส่วนรวม โดยมีสิทธิ
               อานาจและโอกาสที่จะเข้าควบคุมกิจการทางการเมืองของชาติ ในแง่ส่วนปรัชญาของสังคมมนุษย์ในแบบของ

               ประชาธิปไตยที่ยึดถืออดมคติและหลักการบางประการที่ก าหนดแบบแผนแห่งพฤติกรรมระหว่างมนุษย์ใน
                                   ุ
               สังคม ในกิจการทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รัฐบาลที่เกิดขึ้นในระบอบนี้จะเป็นเสมือน
               เครื่องมือที่ช่วยให้ประชาชนได้บรรลุจุดหมายปลายทางที่ส าคัญ นั่นคือ ความผาสุกของประชาชนทั้งประเทศ
               (ยุทธพงษ์ เขื่อนแก้ว, 2559, น.91-92)




                                                                                                     259
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266