Page 259 - thaipaat_Stou_2563
P. 259

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓






                            ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรปี 2562

                              ของนักศึกษำศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏพิบูลสงครำม จังหวัดพิษณุโลก

                                       สิทธิชัย  มีบุตร เจษฎาภรณ์  รัตนะ นัทธมน  แก้วคง
                                            ณัฎฐกิตต์  วัฒนวานิชย์ และเสรี  ศรีเทศ
                                      ชื่อสถาบันการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
                                        Email address: sittichai99592@gmail.com

                                                                70
                                                        บทคัดย่อ

                                             ื่
                       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาถึงความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร
               ปี 2562 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก  มีวัตถุประสงค์เพอ (1) เพื่อศึกษา
                                                                                            ื่
                                                             ิ

               ระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม ต าบลพลายชุมพล อาเภอเมือง จังหวัด
               พิษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ปี 2562  (2) เพื่อศึกษาความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
               พบูลสงคราม ต าบลพลายชุมพล อ าเภอเมือง จังหวัดพษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ปี 2562 และ
                                                             ิ
                 ิ
                                                                                   ิ
               (3) เพอศึกษาแหล่งข้อมูลการรับรู้ข่าวสารของของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม ต าบลพลายชุม
                     ื่
               พล อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ปี 2562
                       ผลการวิจัยพบว่า การศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาแบบส ารวจ เก็บข้อมูล โดยแบบสอบถาม จ านวน 400
               ชุด โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มธรรมดา กลุ่มตัวอย่างมีเป็นกลุ่มที่มีความเข้าใจกับกลุ่มที่ไม่มีความเข้าใจ
               ใกล้เคียงกัน และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของกลุ่มตัวอย่างนั้นมี 3 ระดับ คือระดับต่ า ปานกลาง และสูง ซึ่ง
               กลุ่มตัวอย่างที่มี มีเพศ  ชั้นปีที่ศึกษา คณะที่ศึกษา และแหล่งความรู้  การติดตามข่าวสารทางการเมือง และ
                                                ั
               ความเข้าใจเกี่ยวกับเลือกตั้งที่แตกต่างกนจะมีส่วนร่วมทางการเมืองที่แตกต่างกัน  และอุปสรรคปัญหาในการมี
               ส่วนร่วมทางการเมืองคือ นักศึกษาขาดความรู้ ความเข้าใจทางการเมืองและมีทัศนคติที่ดีและไม่ดี ใน
               กระบวนการทางการเมือง
                       ทั้งนี้ผู้ศึกษามีความเห็นว่าการด าเนินการเพอให้เกิดผลในทางปฏิบัตินั้นจะต้องประกอบไปด้วย การมี
                                                          ื่
               ส่วนร่วมการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษา ควรร่วมมือกันในการเสริมสร้างจิตส านึกที่ดีในการมีส่วนร่วม
               ทางการเมืองของนักศึกษา อันเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาการเมืองไทยต่อไป













               70  ที่ปรึกษา: นายวสันต์  ปวนปันวงศ์  สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Email: reddevil_small@hotmail.com
                                                                                                     257
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264