Page 257 - thaipaat_Stou_2563
P. 257

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               พนักงานท้องถิ่นด้วย ขณะที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ไม่ได้ระบุประเด็นนี้เอาไว้แต่อย่างใด จึงท าให้ยังไม่สาม
               รารถชี้ชัดลงไปได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้มีทิศทางในเรื่องนี้อย่างใดแน่

                                    ั้
                       จากที่กล่าวมาทงหมดจะเห็นว่า รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ได้วางหลักการ ทิศทาง และออกแบบกลไก

               ต่างๆ ในการกระจายอานาจไว้เป็นเค้าโครงให้รัฐธรรมนูญฉบับต่อมาได้สานต่อเรื่องดังกล่าว โดยที่รัฐธรรมนูญ
                                                                             ิ่
               พ.ศ. 2550 ได้รักษาหลักการดังกล่าวไว้อย่างครบถ้วนพอสมควรและได้เพมกลไกการการตรวจสอบโดยคนใน
               ท้องถิ่นไว้อย่างชัดเจนด้วยว่าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรายงานผลการด าเนินงานต่อประชาชนด้วย

               ในขณะที่ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ดูจะมิทิศทางในการดึงอานาจกลับสู่ส่วนกลางมากกว่า โดยเฉพาะการตัด


               อานาจในการก าหนดนโยบายและการเปิดช่องให้รัฐสามารถจัดการให้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ
               พิเศษได้เอง
                                                               ื่
                        วัตถุประสงค์ของของการวิจัยในครั้งนี้นอกจากเพอศึกษาความเปลี่ยนแปลงของการกระจายอานาจสู่

                                                                                             ั
               ท้องถิ่นในรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังต้องการศึกษาความสัมพนธ์ระหว่างระบอบการเมืองอนเป็นที่มาของ
                                                                    ั
                                 ั
               รัฐธรรมนูญกับการพฒนาประชาธิปไตยผ่านการประเด็นเรื่องการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นด้วย และจาก

               การศึกษาพบว่า ระบอบการปกครองและกลไกของการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญดูจะไม่ได้แปรผลโดยตรงสู่ทิศทาง

               การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นแต่อย่างใด เพราะรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ล้วน
               เป็นผลมาจากกลไกที่มาจากธรรมนูญการปกครองของคณะรัฐประหารด้วยกันทั้งสิ้น ในแง่นี้ จึงต้องพจารณา
                                                                                                    ิ
                      ื่
               ปัจจัยอนๆ ที่น่าจะมีผลในการก าหนดทิศทางดังกล่าวมากกว่าปัจจัยเรื่องที่มา เช่น ปัจจัยด้านเจตนารมณ์ทาง
               การเมือง และความมุ่งหมายในการกลับคืนสู่ประชาธิปไตยว่ามีความเข้มข้นมากน้อยเพียงใด

               ข้อเสนอแนะ
                                                                                        ี
                       ในแง่หนึ่ง การวิจัยนี้เป็นการส าหรับการประเมินทิศทางการกระจายอานาจเพยงในมิติเดียว คือ มิติ


               การออกแบบการกระจายอานาจเท่านั้น ยังไม่ได้ประเมินในมิติด้านผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงภายใน
               ท้องถิ่น และมิติด้านเนื้อหาและความเขาใจ แต่อย่างใด (โปรดดู ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์, 2555, น. 17-18) ในแง่
                                                ้
                                                                 ้
               นี้ในการศึกษาต่อไปจึงอาจท าการศึกษาประเมินในอกสองมิติขางต้นด้วยเพอการศึกษาครอบคลุมทั่วด้านมากขึ้น
                                                         ี
                                                                           ื่

                          ี
                       ในอกทางหนึ่งงานวิจัยนี้ยังไม่ได้เน้นจุดสนใจไปที่การขยายตัวของการรวมศูนยอานาจแบบกระจัด
               กระจาย (fragmented centralization) ซึ่งเกิดขึ้นจากการขยายอ านาจของส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในเวลา
               เดียวกันกับที่มีการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นด้วย แม้ว่าไม่น่าจะมีบทบัญญัติในกฎหมายอนๆ ที่ขัดหรือแย้งกับ
                                                                                        ื่


                                                           ิ่
                                             ิ
               บทบัญญัติรัฐธรรมนูญก็ตาม การพจารณาถึงการเพมขึ้นหรือลดลงของอานาจส่วนกลางและส่วนภูมิภาคก็
               ย่อมจะช่วยฉายให้เห็นว่าแท้จริงแล้วอานาจที่ถูกกระจายลงไปสู่ท้องถิ่นนั้นได้ไปเพมอานาจให้กับท้องถิ่นมาก
                                                                                   ิ่


               น้อยเพียงใดด้วย

                                                      เอกสำรอ้ำงอิง
               โกวิทย์ พวงงาม. (2555). กำรปกครองท้องงถิ่นไทย หลักกำรและมิติใหม่ในอนำคต, กรุงเทพ: ส านักพิมพ์วิญญูชน.
               จรัส สุวรรณมาลา และคณะ. (2554). ประเด็นท้ำทำยกำรกระจำยอ ำนำจและกำรปกครองท้องถิ่นไทย.
                       กรุงเทพ: ศูนย์ส่งเสรินวัตกรรมและธรรมาภิบาลท้องถิ่น คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

               ชาติชาย ณ เชียงใหม่. (2560) ใน คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์และส ารวจความคิดเห็นของประชาชนใน
                       คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. สรุปสำระส ำคัญร่ำงรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยโครงกำร
                       เสริมสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจรัฐธรรมนูญแก่สื่อมวลชน.
               ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2553). ทฤษฎีและแนวคิด: กำรปกครองท้องถิ่นกับกำรบริหำรจัดกำรท้องถิ่น (ภำค

                       แรก). กรุงเทพ: โครงการจัดคบไฟ.

                                                                                                     255
   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262