Page 262 - thaipaat_Stou_2563
P. 262
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ั
การที่จะพฒนาระบอบประชาธิปไตย ให้มีเสถียรภาพเท่าเทียมกันและมีความมั่นคงได้นั้นต้องขึ้นกับ
ความสมบูรณ์ของเงื่อนไขต่างๆและการท างานอย่างมีประสิทธิภาพของสถาบันการเมืองตลอดจนการสร้าง
วัฒนธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในกลุ่มของเด็กเยาวชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปอย่าง
แท้จริง กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเป็นกลไกลส าคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยซึ่งช่วย
ให้การขับเคลื่อนประชาธิปไตยเดินหน้าไปอย่างถูกจุดและเหมาะสม แม้ว่ากระบวนการมีส่วนร่วมจะไม่สามารถ
ิ
ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนได้ทั้งหมด แต่ประชาชนเหล่านี้มีโอกาสที่จะมีอทธิพลเกี่ยวกับค าถาม
ื่
ิ
หรือปัญหาที่ได้น าเสนอทางเลือก เพอที่จะได้รับพจารณาจากรัฐบาลและมีการประเมินผลปรับปรุงเพอที่จะ
ื่
ได้รับการด าเนินการต่อไป สถาบันการศึกษาเป็นสถาบันที่ประสาทวิชาความรู้ และทักษะทางด้านต่างๆ แก่
ี
นักศึกษา ในอกแง่มุมหนึ่งก็ยังมีการปลูกฝังวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยให้กับนักศึกษาอก
ี
ด้วยวิธีที่จะให้เป็นประชาธิปไตย จึงไม่เพียงที่จะให้แต่ความรู้ทางวิชาการอย่างเดียว แต่ยังให้ประสบการณ์และ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองควบคู่กันไป จึงท าให้เยาวชนเป็นต้นกล้าใหม่ที่จะเติบโตและมีความเข้มแข็งเป็น
พลเมืองตามวิถีระบอบประชาธิปไตย (ยุทธพงษ์ เขื่อนแก้ว, 2559 , น.92)
การเลือกตั้งปี 2562 จึงเป็นกระบวนการรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่นักศึกษาในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏพบูลสงคราม จะต้องเลือกตั้งตามกระบวนการของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปีพทธศักราช
ิ
ุ
2560 เพอให้ได้มาซึ่งบุคคลเข้าไปท าหน้าที่ในการบริหารประเทศ ด้วยการให้นักศึกษาที่เป็นประชาชนคน
ื่
หนึ่งในประเทศที่มีสิทธิในการออกเสียงเลือกบุคคลที่เห็นสมควร (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร) เนื่องจากในการ
เลือกตั้งปี 2562 เป็นการปฏิรูประบบการเลือกตั้งใหม่ ที่ท าให้ทุกคะแนนเสียงของประชาชนมีความหมาย
อย่างแท้จริง ที่เรียกกันว่าระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม จะจูงใจให้ประชาชนและนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม มาเลือกตั้งมากขึ้น และเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกของนักศึกษาหลายคนใน
ิ
มหาวิทยาลัยฯ เพราะเป็นการตัดสินใจเลือกได้เพยงบัตรใบเดียวที่ส่งผลให้ได้ทั้งคนและพรรคที่ต้องการ
ี
(ส านักงานวิชาการ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2561, น.7)
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวด
ั
พิษณุโลก และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงในการผลิตบุคลากรทางการศึกษาของประเทศ โดยมีนักศึกษา
จ านวนมากที่มีสิทธิในการใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี 2562 ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่
จะศึกษาถึงระดับความเข้าใจเกี่ยวกับการไปให้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี 2562 และศึกษาถึง
ื้
ความเข้าใจถึงการเลือกตั้งที่ส าคัญอนเป็นพนฐานของระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระ
ั
ั
ประมุขภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยเรื่องของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่มีความส าคัญ
ต่อระบบการเมืองการปกครองของประเทศไทยหรือไม่อย่างไร
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
ิ
(1) เพอศึกษาระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม ต าบลพลายชุมพล
ื่
อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งปี 2562
ิ
ื่
(2) เพอศึกษาความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม ต าบลพลายชุมพล อาเภอ
เมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งปี 2562
(3) เพอศึกษาแหล่งข้อมูลการรับรู้ข่าวสารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม ต าบลพลายชุม
ื่
ิ
พล อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งปี 2562
เครื่องมือและวิธีกำรศึกษำ
260