Page 267 - thaipaat_Stou_2563
P. 267
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ั
ั
ึ
ิ
กรำฟแสดงจ ำนวนร้อยละของแหล่งข้อมูลกำรรบรู้ข่ำวสำรของนกศกษำมหำวทยำลัยรำชภัฏ
ั้
ู้
พิบูลสงครำมที่มีต่อกำรไปใช้สิทธิเลือกตงสมำชิกสภำผแทนรำษฎร ปี 2562
80 70.3
60
40 24.8
20 2.3 1.3 0 1.5 0
0
ร้อยละ
จากกราฟ แหล่งที่มาของความเข้าใจที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษาจ านวนทั้งหมด 400
คน โดยนักศึกษาได้เลือกแหล่งที่มาของความเข้าใจที่มีต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของตนเองที่คดว่าท าให้มีความ
ิ
เข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดเรียงตามล าดับ ได้แก่ การศึกษาเล่าเรียนมีนักศึกษาเลือกจ านวนทั้งสิ้น
281 คน (คิดเป็นร้อยละ 70.3) โทรทัศน์มีนักศึกษาเลือกจ านวนทั้งสิ้น 99 คน (คิดเป็นร้อยละ 24.8)
อนเทอร์เน็ตมีนักศึกษาเลือกจ านวนทั้งสิ้น 9 คน (คิดเป็นร้อยละ 2.3) ประสบการณ์มีนักศึกษาเลือกจ านวน
ิ
ทั้งสิ้น 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 1.5) และวิทยุกับอื่นๆ ไม่มีนักศึกษาเลือกตอบ ตามล าดับ
อภิปรำยผลกำรศึกษำ
ระดับควำมเข้ำใจที่มีต่อกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ
การศึกษาระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ
เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) สามารถอภิปราย
ิ
ผลได้ว่า การศึกษาระดับความเข้าใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงครามอยู่ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย
3.59) แสดงให้เห็นว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงครามส่วนใหญ่มีความเข้าใจและสนใจในเรื่องของ
การเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2562 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส าคัญอย่างหนึ่งของการเข้าไปมี
ส่วนร่วมทางการเมืองและเป็นหน้าที่ส าคัญของพลเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยซึ่งจะ
สอดคล้องหรือเป็นไปตามแนวคิดในเรื่องการมีส่วนร่วมทางการเมือง และการที่ประชาชนจะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ประชาชนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่า และความส าคัญของการเลือกตั้ง จึงท าให้เห็นว่า
265