Page 35 - PAAT_Journal_V1-2019
P. 35
PAAT Journal Vol. 1, No. 1, (June 2019)
ี
่
้
โดยเฉพาะสิงสําคัญคือ การรักษาด้วยยาตานไวรัสเอชไอว (World Health Organization Thailand,
11
2018)
้
่
ี
ื
้
ในชวงแรกของการระบาดของโรคเอดส์นัน เนืองจากยังไมมยารักษา ผูรับเชอเอชไอวจงมผูทเสียชวต
่
่
้
ี
ึ
่
ี
ิ
ี
้
ี
ํ
้
่
ดวยโรคเอดส์หรือโรคแทรกซอนจานวนมาก ทาใหทวโลกรวมถึงประเทศไทยมความพยายามในการคดค้น
้
ั
้
ี
ิ
ํ
้
วธการรกษาโรคเอดส์ดวยรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะการรกษาดวยการใหยาตานไวรัสเอชไอว มีหลักฐานยืนยัน
ั
้
ี
ั
้
ี
่
้
ิ
่
ี
ิ
้
ิ
้
้
ทางวทยาศาสตร์วาการรักษาด้วยยาตานไวรัสเอชไอว จะทาใหระบบภูมคุมกันของร่างกายสามารถกลับคืนมาด ี
ํ
ั
่
ื
้
ื
ขึน และสามารถลดการแพร่เชอไปยงผูอนได (World Health Organization, 2011: 3) การรักษาด้วยยา
12
้
้
้
ี
ิ
้
ี
ั
ี
้
ตานไวรัสเอชไอวจะสามารถชวยชวตผูตดเชอเอชไอวและลดอตราการเสียชวตจากเอดส์ได (Sarada, Padam,
่
ิ
้
ิ
ื
้
ี
13
้
ํ
้
่
้
Julian, Jennifer and Edwin, 2012: 1) ยาต้านไวรัสเอชไอวีมีผลทาให้ผูติดเชือเอชไอวีมีชีวิตทียืนยาวขึน
ั
ี
่
่
ึ
้
ื
ิ
ุ
่
เทาอายขัยคนปกต หากดูแลตวเอง ไมรับเชอเพม กินยาตรงตามเวลา ซงถือวาการให้ยาตานไวรัสเอชไอวเป็น
้
่
ิ
่
้
ั
้
14
ี
ี
่
การปองกันทดทสุด (ประพนธ ภานุภาค, ผูอํานวยการศูนย์วิจัยโรคเอดส์สภากาชาดไทย, 2555) การให้ยา
์
ี
ุ
่
ํ
ิ
ั
็
ี
ี
ตานไวรัสเปนวธทมประสิทธภาพในการป้องกันการตดเชอ เพราะสามารถลดจานวนไวรสและสามารถลดอตรา
ั
่
ี
้
้
ื
ิ
ิ
์
ุ
ื
้
ั
ิ
้
การถ่ายทอดไปยงผูอนได (นตยา ภานภาค, ศูนยวจัยโรคเอดส์สภากาชาดไทย, 2555) จากการศึกษาวิจัย
15
่
ิ
่
้
ี
ิ
ื
้
่
์
้
้
่
่
ของแพทยผูเชยวชาญทังในประเทศและตางประเทศพบวา “หากผูตดเชอเอชไอวไดรับยาตานไวรัสเร็วไมเกิน
ี
้
้
้
1 เดอนหลังวนจฉัยวาไดรับเชอเอชไอว และกินยาตานไวรัสเอชไอวอยางตอเนอง จะมประสิทธผลในการลด
ิ
ื
่
ื
ี
ิ
่
้
่
่
ี
้
ี
ิ
ื
ิ
ี
้
ี
ิ
่
้
ื
่
้
้
ี
้
่
ี
การตดเชอเอชไอวไดสูงร้อยละ 96 จนไมสามารถแพร่เชอตอไปได รวมถึงสามารถทจะลดการเสียชวตไดอก
ื
ั
้
ุ
ี
ิ
้
ื
้
้
ี
ดวย” (สมศกด ชณหรัศม, 2557) การรักษาดวยยาตานไวรัสเอชไอวจะสามารถยดชวตใหผูไดรับเชอเอชไอว ี
์
้
์
ิ
ิ
้
้
ื
ื
่
ี
้
ี
้
ี
่
ิ
้
สามารถมชวตทยนยาวนานขึนไดและมการรอดชพสูงขึน นอกจากนสําหรับผูทไมตดเชอเอชไอวก็สามารถกิน
ี
ี
้
้
้
ิ
ี
่
ี
ื
ี
้
ื
ี
้
่
ยาตานไวรัสเอชไอวเพอป้องกันการติดเชือเอชไอวีได้ (สํานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ี
่
ี
็
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2557: 1) จากการศึกษา HPTN 052 ทมผูเข้าร่วมโครงการเปนคูผล
่
้
่
ู
่
ี
ี
็
่
่
่
็
่
ั
เลือดตางๆ 1,763 คใน 9 ประเทศ ส่วนใหญเปนคูตางเพศ พบวา การรกษาฝ่ายทมผลเลือดบวกโดยเรวดวย
้
่
้
ี
่
้
ยาตานไวรัสเอชไอวโดยไมตองรอใหระดบ CD 4 ลดตาลง มประสิทธผลถึงร้อยละ 96 ในการปองกันการ
้
่
้
ั
ํ
ี
ิ
้
ื
ื
้
ี
ั
ี
ั
่
็
่
ั
ิ
็
ถ่ายทอดเชอไปยงฝ่ายทมผลเลือดเปนลบ และยงลดอตราการเจบปวยโดยเฉพาะการตดเชอวณโรคนอกปอดลง
ั
11 World Health Organization Thailand. (2018, December, 13). HIV and AIDS. Retrieved from
http://www.searo.who.int/thailand/areas/hivaids/en/.
12 Sarada P. Wast, Padam Simkhada, Julian Randall, Jennifer V. Freeman and Edwin van Teijlingen, 2012.
Factor Influenceing Adherence to Antiretroviral Treatment in Nepal: A Mixed-Methods Study. Plos ONE.
Vol, 7 issue 5, May.
13 World Health Organization, 2011. World Health Organization brief on Antiretroviral Treatment (ART) in
and TB prevention. January, 2011. Switzerland: World Health Organization.
14 ประพันธุ ภานภาค, 2555. ยาต้านไวรสชวตใหม่ของผติดเชอ HIV. https://www.redcross.or.th/article/50961
้
์
ู
ื
ุ
ี
้
ิ
ั
์
ั
ศนยวจยโรคเอดสสภากาชาดไทย.
์
ิ
ู
15 นตยา ภานภาค, สรปประเด็นสาคญในการเสวนาเอดส ครงท 1-4 วันจนทร์ท 9 มกราคม 2555 ณ กรม
ิ
ั
้
ั
ุ
์
่
ี
ํ
ั
ุ
ี
่
ุ
ควบคมโรค กระทรวงสาธารณสข https://www.redcross.or.th/article/15421
ุ
่
27 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย