Page 37 - PAAT_Journal_V1-2019
P. 37
PAAT Journal Vol. 1, No. 1, (June 2019)
้
ุ
19
ั
่
ื
้
ิ
ิ
ี
2561) เมอองค์การเภสชกรรมไทยสามารถผลตไดทําใหจากราคาเดมกระปกละ 1,000 บาท เหลือเพยง
20
้
้
180 บาท โดยมผทีไดรับยาตานชนดนีประมาณ 80,000 คน (ไทยโพสต, 2561) การทีราคายาต้านไวรัสนัน
้
์
่
้
่
ี
ิ
้
ู
ี
ึ
ิ
่
้
ํ
ี
ี
่
้
ื
้
ถูกลงทาใหผูตดเชอเอชไอวทมฐานะทางเศรษฐกจทยากจนจงมโอกาสการเขาถึงบริการสาธารณสุขมากขึน
้
ี
้
ิ
ี
ั
่
ึ
ู
ั
ั
พฒนาการทางนโยบายในอดีต: จากการจํากดการเขาถงสยุคการรกษาฟรี
้
้
่
้
ี
่
ประเทศไทยไดเข้าถึงการบริการดวยยาตานไวรัสเอชไอวครังแรกเมอป 2535 โดยไดรับการชวยเหลือ
ี
้
ื
้
้
้
จากกองทนโลกตอเนองเรือยมา “สําหรับค่าใชจายในการเขาถึงยาตานไวรัสเอชไอวีในขณะนันมีค่าใช้จ่ายอยูที ่
ื
่
่
่
่
ุ
้
่
้
้
21
่
่
์
ํ
้
ึ
ื
ประมาณ 25,000-30,000 บาท/คน/เดอนซงถือวาสูงมาก” (ผูอานวยการองคการเภสัชกรรม 2561) จน
่
้
ํ
้
ิ
ี
ิ
่
ั
มาถึงป 2543 มการจดทาเป็นโครงการทีเรียกวา การพฒนาระบบบริการ และตดตามผลการรักษาผูตดเชอเอช
ั
ี
ื
้
้
ี
่
ํ
ํ
้
ั
ี
้
ื
้
้
ิ
ี
ไอวและผูปวยเอดส์ ปตอมามการกาหนดโควตาการใหยาตานไวรสผูตดเชอเอชไอวจานวนทังสิน 3,000 คน ใน
่
้
ี
่
ิ
ี
้
่
้
ี
้
้
109 โรงพยาบาล สองปตอมาไดมการขยายจํานวนผูทีไดรับการใหยาตานไวรัสเพมขึนเป็น 13,000 คนและ
้
่
้
28,000 คนตามลําดบ ป 2546 รัฐบาลได้มีนโยบายให้การคลอบคลุมการรักษาด้วยยาต้านไวรัส จึงส่งผลให้
ั
ี
ึ
ี
รายจ่ายของรัฐจงเน้นไปทการดแลรักษาร้อยละ 64.4 ป 2547 การให้ยาตานไวรัสกลายเปนนโยบาย
้
็
ู
ี
่
่
ึ
ั
่
ั
ี
้
ระดบชาติ มการยกเลิกการให้แบบระบบโควตา ซงในชวงเวลาดงกล่าวจนถึงป 2551 ประเทศไทยไดรับการ
ี
้
่
สนบสนนงบประมาณจากองทุนโลกระยะที 1 ภายใตโครงการการเข้าถึงระบบบริการยาต้านไวรัสระดับชาติ
ั
ุ
(NAPHA) ในปี 2548 มการกาหนดเปาหมายการให้ยาตานไวรัสผูตดเชอเอชไอวใหไดถึง 120,000 คน ซง ่ ึ
้
้
้
ื
้
้
ี
ิ
ี
้
ํ
็
ี
ั
่
ั
่
ี
ชวงเวลาดงกล่าวมแนวโน้มเปนหนงในนโยบายหลักประกนสุขภาพ มความชดเจนของนโยบายการขยายการ
ึ
ั
ี
้
้
ิ
เข้าถึงการรักษาดวยยาตานไวรัส จากเดมผูตดเชอเอชไอวต้องมีค่าภูมิคุมกันของร่างกายหรือค่าเม็ดเลือดขาว
ื
ิ
้
้
้
้
ี
้
้
่
่
ึ
ั
ื
ึ
(CD 4) น้อยกวา 200 เซลล์/มม. หรือเมอมอาการ จงจะไดสามารถเขารับการรกษาดวยยาตานไวรัสได ซงเป็น
่
้
้
ี
้
ํ
่
้
เกณฑ์ทองค์การอนามยโลก (WHO) ไดแนะนาให้ประเทศตางๆ ทวโลก ควรทจะใหยาตานไวรสเอชไอวแก่ผูตด
้
ั
่
ั
้
ั
ี
ิ
ี
่
่
22
เชอเอชไอว (Pascal, David, Salal and Till, 2015: 2) จนเมือสินปี 2548 ประเทศไทยกลายเป็นประเทศ
ื
้
ี
้
่
หลักในการขับเคลือนการให้ยาตานไวรัสเอชไอวแกประชาชนในประเทศได้มากกวาร้อย 70 ของผูตดเชอเอชไอ
่
่
่
ิ
้
้
ี
้
ื
้
ั
ี
ี
์
์
ั
19 องคการเภสชกรรม, 2561, ยาตานไวรัสเอดส ขององคการเภสชกรรม(จพโอ) ได้รบการรับรองมาตรฐานสากล จาก WHO
์
ั
้
ื
ี
รายการแรกของไทยและอาเซยน, สบคนท ี ่
https://www.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=88&mid=446&ctl=ArticleView&articleId=1219, 16 พฤศจกายน
ิ
2561.
20 ไทยโพสต์, 2561. ยาต้านไวรสเอดส ของอภ.ไดรับรางวลมาตรฐานสากล จากองคการอนามยโลก รายแรกของอาเซยน,
ั
์
ั
ี
์
ั
้
ื
่
ี
้
สบคนท https://www.thaipost.net/main/detail/21222, 16 พฤศจกายน 2561.
ิ
ู
์
ั
ู
้
้
21 ผอํานวยการองคการเภสชกรรม, 2561. การให้สมภาษณของผอํานวยการองคการเภสชกรรมในรายการเดนหน้าประเทศ
ิ
์
ั
ั
์
ไทย หัวข้อยาต้านไวรัสเอดส, 28 ธนวาคม 2561.
ั
์
22 Pascal Geldsetzer, David E. Bloom, Salal Humail and Till Barnighausen, 2015. Benefit and costs of the
HIV/AIDS Targets for the Post-2015 Development Agenda. Copenhagen Consensus Center. Working paper
as of 11 March.
่
29 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย