Page 60 - Microsoft Word - PAAT Journal V3-2020-update by ap
P. 60

PAAT Journal Vol. 2, No. 3, June 2020

                                                                                                ั
                                                                                                ้
                                                                                                    ี
                                                                                                   ่
                                                                                        ี
                                                                                        ่
                           (3)การบริการสาธารณะแนวใหม่ (New Public Service: NPS) แนวทางทสาม เริมตงแตป ค.ศ.
                                                                                             ่
                              ุ
                                            ื
                                         ้
                                            ่
                            ั
                                                                    ้
                                                                                   ิ
                    2000 ถึงปจจบน โดยเริมขึนเมอ Denhardt & Denhardt ไดเสนอแนวคิดการบรการสาธารณะแนวใหม่ โดย
                                      ่
                                ั
                    ยดถือคานิยมหลัก เรืองความเป็นประชาธปไตยจากการมส่วนร่วมของภาคประชาชนและประชาสังคม เพอทา ํ
                     ึ
                                                    ิ
                                                                ี
                                                                                                     ื
                                    ่
                                                                                                     ่
                          ่
                          ั
                                                                         ่
                                                                                                    ั
                                                                       ้
                                                                                             ี
                    ใหการจดการภาครัฐสามารถตอบสนองความต้องการสาธารณะไดอยางเปนองค์รวม ในขณะเดยวกันก็ยงคงม  ี
                      ้
                                                                             ็
                                                              ี
                                                                 ้
                                                                                                     ่
                                                                                                       ็
                    ความแตกต่างจากการบริหารงานของภาคเอกชน อกทัง บุคลากรภาครฐจะตองผันตวเองมาเปนผูทเปน
                                                                                                    ้
                                                                                                 ็
                                                                                                     ี
                                                                                         ั
                                                                              ั
                                                                                   ้
                                                                  ่
                                                        ์
                                                   ็
                                                      ู
                          ั
                    อาสาสมคร ยดเอาประโยชน์สาธารณะเปนศนยกลางมากกวาประโยชน์ส่วนตน
                              ึ
                           สาหรับรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ตามทีศาสตราจารย ดร.บญทน ดอกไธสง ปรมาจารยทาง
                                                                                                     ์
                                                                 ่
                            ํ
                                                                                   ั
                                                                                ุ
                                                                           ์
                                                                                        ่
                                          ่
                                                     ้
                                                              ั
                                                                                        ี
                                     ่
                    รัฐประศาสนศาสตร์ทานหนึงของไทย ไดกล่าวในหนงสือ “รัฐประศาสนศาสตร์เปลยนโลก (Disruptive
                                                                                ่
                                                ิ
                    Public Administration)”  โดยองแนวคิดของ Nicholas Henry (1995) วาการศึกษารฐประศาสนศาสตร์
                                                                                          ั
                                         ุ
                                                                          ้
                                                                       ั
                                                        ั
                                                                                                       ุ
                     ํ
                                    ็
                    จาแนกได้เป็นออกเปน 8 ยค หรือ 8 กระบวนทศน์ (Paradigms) ดงนี (Nicholas Henry,1995 ปรับจาก: บญ
                    ทน ดอกไธสง, 2562, 2018 :42-43)
                     ั
                           (1) การเมองแยกจากการบรหาร (The Politics-Administration Dichotomy: 1900-1996)
                                                 ิ
                                   ื
                           (2) หลักการบริหาร (The Principles of Administration: 1927-1937)
                           (3) รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science: 1950-
                              1970)
                           (4) รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะการจัดการ (Public Administration as Management: 1956-
                              1970)
                           (5) รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration as Public
                              Administration: 1970-present)
                           (6) หลักธรรมาภิบาล (Governance Paradigm: 1990-present)
                           (7) พาราไดมโลก รัฐบาลอเล็กทรอนิกส์ในรัฐประศาสนศาสตรโลกหลังนวยคดจทล (Global
                                                                                        ิ
                                                                           ์
                                     ์
                                                                                       ิ
                                                                                    ุ
                                                                                         ั
                                               ิ
                              Paradigm, E-Government in Public Administration: 2010-2015)
                                                                                              ็
                           (8) รัฐประศาสนศาสตร์ในยคพลิกผัน การใหบริการสาธารณะทีเป็นเลิศในยุคอนเทอร์เนต ปญยา
                                                                            ่
                                                ุ
                                                                                       ิ
                                                             ้
                                                                                                  ั
                                                                                   ้
                                  ิ
                                                                                 ู
                                                                                 ้
                                                         ิ
                              ประดษฐ หุนยนต นโยบายในแนวดง บล็อคเชน คลาวด เฟสบค กเกิล และยทปจะมบทบาทสูง
                                                                                               ี
                                                                         ์
                                       ่
                                                         ่
                                                                              ๊
                                                                                          ู
                                                                                         ู
                                            ์
                                     ์
                                                                              ุ
                                                             ุ
                                                                  ั
                                                               ิ
                                                     ิ
                              ในระบบบรหารราชการแผ่นดนหลังนวยคดจิทล (Disruptive Public Administration, Best
                                       ิ
                              Service to the Public Internet of Things, AI Robotics, Vertical Policy,  Block Chain,
                              Cloud, Facebook, Google, YouTube: 2016-present)
                                                                                                  ึ
                                                                                                     ้
                            ื
                            ่
                                                  ั
                                                                 ์
                                                                          ั
                           เมอกล่าวถึงพฒนาการของรฐประศาสนศาสตรไทย บุญทน ดอกไทสง (2562: 74-76) จงไดสรุป
                                      ั
                                                        ์
                                                                                                       ุ
                    ภาพรวมของพฒนาการของรฐประศาสนศาสตรไทยไวอยางบูรณาการ ออกเป็น 4 ยุคสมย ตงแตยค 1.0 ถึงยค
                                          ั
                               ั
                                                                                              ่
                                                                ่
                                                                                           ั
                                                                                        ั
                                                                                           ้
                                                                                               ุ
                                                             ้
                                       ้
                                       ี
                        ั
                                   ่
                               ี
                    4.0 ดงตารางท 1 ตอไปน
                               ่
                                                                                                 ่
                                                        52                     สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65