Page 104 - thaipaat_Stou_2563
P. 104

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                  2. งานจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ  ร้อยละ 20 ของจ านวนตัวอย่างขั้นต่ าที่ต้องเก็บในหน่วยงาน

                                                    นั้น

                  3. งานสนับสนุน                    ร้อยละ 15 ของจ านวนตัวอย่างขั้นต่ าที่ต้องเก็บในหน่วยงาน

                                                    นั้น


                  4. งานอื่น ๆ                      ร้อยละ 5 ของจ านวนตัวอย่างขั้นต่ าที่ต้องเก็บในหน่วยงานนั้น



               เครื่องมือกำรประเมิน
                       เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ใช้ตามที่ส านักงาน ป.ป.ช.ก าหนด ประกอบด้วย เครื่องมือ 3 แบบ

               โดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบการประเมินมีรายละเอียด ดังนี้

                       1) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT
               ) เป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในที่มีต่อหน่วยงานตนเอง ในตัวชี้วัดการปฏิบัติ


               หน้าที่ การใช้งบประมาณ การใช้อานาจ การใช้ทรัพย์สินของราชการ และการแก้ไขปัญหาการทุจริต โดยให้
               บุคลากรภายในหน่วยงานทั้งหมดที่ท างานในหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมินมาเป็นระยะเวลาไม่น้อย
               กว่า 1 ปี เป็นผู้ตอบแบบประเมินดังกล่าว

                       2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)
               เพอเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่มีต่อหน่วยงานที่ประเมิน ในตัวชี้วัด
                  ื่
               คุณภาพการด าเนินงาน ประสิทธิภาพการสื่อสาร และการปรับปรุงระบบการท างาน โดยให้บุคคล นิติบุคคล
               หรือหน่วยงานรัฐอนที่มารับบริการหรือมาติดต่อภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมินใน
                                ื่
               ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นผู้ตอบแบบประเมินดังกล่าว

                       3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment :
               OIT) เป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมิน ที่

               ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ในตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต (Anti – Corruption

               Practice)



               วิธีกำรประเมิน
                       วิธีการประเมินใช้หลักการวิจัยเชิงประเมิน แบบประเมินผลสรุปการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐใน

               จังหวัดเชียงราย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีวิธีการดังนี้

                              1) การส ารวจวิจัยเอกสาร มุ่งเน้นสาระส าคัญที่เป็นข้อมูลพนฐานในประเมินคุณธรรมและความ
                                                                             ื้
               โปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

                              2) ท าความเข้าใจระบบและการเข้าใช้งานระบบ ITAS





                                                                                                     102
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109