Page 101 - thaipaat_Stou_2563
P. 101

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       เมื่อแนวคิดรัฐเปิด (Open Government) และแนวคิดข้อมูลเปิด (Open Data) เมื่อได้มาบรรจบกัน

               จึงท าให้เกิดรูปแบบของการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐแบบเปิด (Open Government Data) โดยผ่านทางระบบ
                                                        ื่
                 ิ
               อนเตอร์เน็ต โดยมีการสร้างโปรแกรมหนึ่งมาเพอเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ โดยมีข้อจ ากัดในการเปิดเผยข้อมูล
               ภาครัฐที่น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยจะให้ความส าคัญที่ข้อมูลภาครัฐ ที่เปิดเผยมานั้นจะต้องทันต่อ

                                                        ี
               เหตุการณ์ มิใช่แต่ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลแต่เพยงเท่านั้น ทั้งนี้ เพอน าไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ การสร้าง
                                                                        ื่
               วัฒนธรรมที่มีความกระตือรือร้นในการพฒนาขึ้นในสังคม จึงเห็นได้ว่า หลักการข้อมูลรัฐเปิด หมายถึง แนวคิด
                                                 ั
               ที่เสริมสร้างความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และคุณค่าจากข้อมูลภาครัฐทั้งหมด โดยเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่
               จะต้องเผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารที่มีคุณภาพออกสู่สาธารณะเพอน าไปสู่การน าไปใช้งานอย่างกว้างขวางและ
                                                                    ื่
               ไม่เสียค่าใช้จ่ายผ่านทางชุดข้อมูลและหน่วยงานที่มีหน้าที่เฉพาะในการนี้
                       แนวคิดข้อมูลภาครัฐแบบเปิดนี้เกี่ยวข้องกับนโยบายและการพิจารณาด้านเทคนิค หากสามารถจัดการ

               ข้อมูลรัฐได้ตามแนวคิดนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก อนรวมไปถึง 1) ความโปร่งใส เนื่องจาก
                                                                        ั
               ประชาชนในสังคมประชาธิปไตยต้องการรู้ถึงสิ่งที่รัฐบาลก าลังด าเนินการ ดังนั้น ประชาชนจะต้องสามารถ
                                                                             ิ
                                                                   ื่
               เข้าถึงข้อมูลของรัฐบาล เพอวิเคราะห์และแบ่งปันข้อมูลกับผู้อนได้ และมีอสระในการเข้าถึงข้อมูลของรัฐบาล
                                      ื่
               2) ประสิทธิภาพ ท าให้ข้อมูลง่ายต่อการค้นหา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ โดยมี
               จุดประสงค์ต่อการประสานงานและความมีประสิทธิภาพในการด าเนินการต่าง ๆ ของรัฐบาล และ 3)
               นวัตกรรม ในยุคดิจิทัลนี้ ข้อมูลถือเป็นทรัพยากรที่ส าคัญทั้งในด้านสังคมและพาณิชย์ การเปิดเผยข้อมูลของ

               ภาครัฐจะสามารถช่วยผลักดัน การสร้างธุรกิจด้านนวัตกรรมและการบริการ นอกจากนี้บรรดากฎระเบียบต่าง
               ๆ ที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะแต่เดิมนั้น จะต้องมีการขออนุญาตก่อนที่จะถูกเปิดเผย แต่ส าหรับ

               หลักการของข้อมูลภาครัฐแบบเปิดแล้วข้อมูลของทางราชการที่เป็นสาธารณะจะถูกเผยแพร่ โดยจะมีการ
               รวบรวมก่อนที่จะมีการขออนุญาต ซึ่งข้อมูลที่ถูกปล่อยออกมาจะไม่มีกรรมสิทธิ์ ซึ่งช่วยให้ทั้งประชาชนและ

               ภาครัฐเองสามารถที่จะให้ข้อมูลเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

                       การศึกษาโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
               (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นับว่ามีความส าคัญ

                                            ื่
               ต่อหน่วยงานภาครัฐเป็นอย่างยิ่งเพอประเมินการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นตามหลักคุณธรรมและ
               ความโปร่งใส เป็นการบ่งชี้ให้หน่วยงานทราบผลการด าเนินงานในด้านดังกล่าวว่ามีส่วนใดเป็นจุดออนที่ต้อง
                                                                                                  ่
               ปรับปรุงและเป็นจุดแข็งที่ต้องพฒนาให้ดียิ่งขึ้น และถือว่าเป็นการช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน
                                           ั
               ภาครัฐ
               เกณฑ์ระดับผลกำรประเมิน

                              เกณฑ์การประเมินและการรายงานผลการประเมิน เป็นการรายงานในลักษณะ
               ค่าคะแนนควบคู่กับระดับผลการประเมิน (Rating Score) โดยจ าแนกออกเป็น 7 ระดับ รายละเอียด ดังนี้

               ตารางที่ 1 แสดงเกณฑ์การประเมินและผลการประเมิน







                                                                                                       99
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106