Page 100 - thaipaat_Stou_2563
P. 100

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               คล่องตัว มีการร่วมกันท างานกับหลายภาคส่วน ทั้งการปฏิบัติหน้าที่จะต้องเป็นกลาง และโปร่งใส และ (ง)

               ตอบสนองต่อประโยชน์สาธารณะ โดยมีมาตรฐานในการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่มีคุณธรรมมีความโปร่งใส
                                                                                                      ื่
               ปราศจากการทุจริต ทั้งจะต้องสามารถตรวจสอบผลการท างาน และมีการปรับปรุงระบบการท างานเพอลด
               โอกาสในการเกิดการทุจริตเป็นระยะ

                                                  ิ
                              2) หลักการเกี่ยวกับวิธีพจารณาในการตรวจสอบการทุจริต การจะน าตัวผู้กระท าการทุจริต
               มาลงโทษได้นั้น จ าเป็นที่จะต้องมีกฎหมาย ที่สามารถเอาผิดได้ทั้งผู้กระท าผิด และสามารถติดตามเอาคืนกับ

               ทรัพย์สินจากการทุจริตนั้นได้ ซึ่งเป็นจะการสร้างความเสี่ยงต่อผู้จะท าการทุจริต แต่ทั้งนี้การตรวจสอบทุจริตก็
               หาใช่แต่เพยงแต่มุ่งจะน าตัวผู้ที่กระท าผิดมาลงโทษเท่านั้น โดยจะต้องค านึงถึงการคุ้มครองและประกันสิทธิ
                         ี
                                                                    ิ
               เสรีภาพผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย โดยการแสวงหาข้อเท็จจริงหรือการพจารณาในชั้นศาลเกี่ยวคดีทุจริตนั้นจะใช้ระบบ
               ไต่สวน อันเป็นวิธีพิจารณาที่เน้นการค้นหาความจริงในทางเนื้อหา สามารถรวบรวมพยานหลักฐานทั้งที่เป็นคุณ

                                                                ิ
               และโทษต่อผู้ถูกกล่าวหา และไม่เคร่งครัดต่อกฎหมายวิธีพจารณาความมากนัก ซึ่งสร้างความรวดเร็วและเป็น
               ธรรมให้แก่สังคมกว่าการพิจารณาในระบบกล่าวหาที่ใช้ในการพิจารณาคดีอาญาทั่วไป
               แนวคิดเกี่ยวกับหลักกำรข้อมูลภำครัฐแบบเปิด (Open Government Data)

                       หลักการข้อมูลภาครัฐแบบเปิด (Open Government data) เป็นแนวคิดที่เกิดจากการผสานของสอง

               แนวความคิดตั้งต้น คือ หลักการรัฐเปิด (Open Government) และหลักการข้อมูลเปิด (Open Data) โดย
               หลักการรัฐเปิด เป็นหลักการที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่สงครามครั้งที่สองได้ยุติลง พลเมืองของประเทศ

                                                                                           ี
               สหรัฐอเมริกาในสมัยนั้นมีความรู้สึกว่ารัฐบาลสหรัฐฯ ยังมีข้อมูลที่ปกปิดประชาชนอยู่อกมาก โดยข้อมูล
               เหล่านั้นล้วนมีความส าคัญที่เกี่ยวโยงกบชีวิตและความเป็นอยู่ของพลเมือง ซึ่งวิธีการในการเข้าถึงข้อมูลภาครัฐ
                                               ั
               ณ ขณะนั้น ก็ไม่เพยงพอต่อความต้องการของพลเมือง ดังนั้น หลักการรัฐเปิดนี้จึงถือเป็นความรับผิดชอบของ
                               ี
               ภาครัฐ ในการที่จะต้องเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อประชาชน หาใช่แต่เพยงให้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลภาครัฐ
                                                                           ี
               เหมือนดังเช่นอดีตไม่ ซึ่งต่อมาองค์กรความร่วมมือและพฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ได้ให้ความหมายของ
                                                               ั
               “หลักการรัฐเปิด” ว่าหมายถึง ความโปร่งใสในการด าเนินงานของภาครัฐ ความสามารถในการเข้าถึงการ
               บริการของภาครัฐ และการตอบสนองต่อข้อมูลและความต้องการของประชาชน การเพิ่มศักยภาพด้านคุณภาพ

               ลดโอกาสการทุจริตและการสร้างความไว้วางใจในภาครัฐ ส่วนในหลักการข้อมูลเปิด (Open Data) นั้น จะเป็น

               แนวคิดที่เกิดจากการที่ระบบอินเตอร์เน็ตได้มีความแพร่หลายสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง ท าให้มีการเผยแพร่ข้อมูล
                                             ิ
               ต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง และเป็นอสระ ซึ่งท าให้เกิดการร่วมกันสร้างนวัตกรรมที่ประชาชนแต่ละคนสามารถ
               ที่จะคิด วิเคราะห์ และมีส่วนสนับสนุนในการแกไขปัญหาต่าง ๆ และในท้ายที่สุดกลายเป็นกลุ่มสังคมขึ้นมา ซึ่ง
                                                       ้
               เป็นเรื่องที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีตหลักการข้อมูลเปิด (Open Data) เป็นความคิดที่ว่าข้อมูลที่ควรจะใช้ได้อย่าง

                                                                                         ์
                                                                                      ิ
               อสระส าหรับทุกคนในการเข้าถึง การใช้งาน และเผยแพร่ตามที่ต้องการ สามารถตีพมพโดยไม่มีข้อจ ากัดใน
                 ิ
               ด้านลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรหรือกลไกอื่น ๆ ผลที่ได้จากข้อมูลภาครัฐที่ให้บริการแก่ประชาชนตามหลักการของข้อมูล
                                                                                                ั
               เปิด  (Open Data) นี้ จะเป็นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ สามารถท าให้เกิดโครงสร้างและเกิดปฏิสัมพนธ์ระหว่าง
               รัฐบาลกับประชาชน
               ควำมหมำยของหลักกำรข้อมูลรัฐแบบเปิด


                                                                                                       98
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105