Page 99 - thaipaat_Stou_2563
P. 99
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
หลักนิติรัฐ เป็นหลักการที่ถูกสร้างขึ้นเพอคุ้มครองสิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนผู้อยู่ใต้การปกครอง (หยุด
ุ
ั
แสงอทัย, 2538 : 123 – 124) โดยการใช้อานาจทางปกครองหรือการที่รัฐจะเข้าไปมีนิติสัมพนธ์ต่อ
ุ
ประชาชนได้นั้น จะต้องมีกฎหมายเป็นรากฐาน (บวรศักดิ์ อวรรณโณ, 2538 : 52) ภายใต้หลักความชอบ
ด้วยกฎหมายของการกระท าทางนิติบัญญัติต้องชอบด้วยกฎหมายภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมายของการ
กระท าทางปกครองและการใช้อานาจรัฐต้องถูกตรวจสอบได้ถึงความถูกต้องชอบธรรม ภายใต้หลักความชอบ
ด้วยกฎหมายของการกระท าทางตุลาการ (วรพจน์ วิศรุตพชญ์, 2540 : 6) การทุจริตที่เกิดขึ้นในภาครัฐนั้น
ิ
จะเกี่ยวกับการใช้อานาจทางปกครองเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของการด าเนิน
กิจกรรมของฝ่ายปกครองนั้น สามารถจ าแนกโดยใช้เกณฑ์องค์กรในการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของ
การด าเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครอง ได้เป็น 2 ระบบใหญ่ (นันทวัฒน์ บรมานันท์, 2555 : 472 – 478) ได้แก่
1) การควบคุมภายใน (controle interne) เป็นการให้องค์กรฝ่ายปกครองนั้นได้ควบคุม
กันเอง โดยแบ่งเป็น (ก) การควบคุมบังคับบัญชา (controle hierarchique) ซึ่งสามารถควบคุมได้ทั้ง
ความชอบด้วยกฎหมายและความเหมาะสม (ข) การก ากับดูแล (tutelle administrative) เป็นกรณีที่ตัวแทน
ื่
ของรัฐเข้ามาดูแลกิจกรรมขององค์กรมหาชนอน ซึ่งเป็นการควบคุมที่มีเงื่อนไข (un pouvoir conditionne)
ตามกรณีและในรูปแบบที่กฎหมายก าหนดไว้เท่านั้น ไม่อาจควบคุมถึงความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ได้
2) การควบคุมภายนอก (controle externe) เป็นการให้องค์กรภายนอกฝ่ายปกครองมีส่วน
ิ
ในการควบคุมการด าเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครอง โดยแบ่งเป็น (ก) การควบคุมโดยองค์กรพเศษ ซึ่งใน
ประเทศไทยองค์กรประเภทนี้อยู่ในรูปแบบขององค์กรอิสระ (ข) การควบคุมทางการเมือง (political control)
ั
เป็นการใช้อ านาจบนพื้นฐานของการถ่วงดุลอ านาจซึ่งกนและกันระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ (ค) การ
ควบคุมโดยศาลซึ่งจะควบคุมเฉพาะความชอบด้วยกฎหมายของการกระท าทางปกครองเท่านั้น
หลักกำรพื้นฐำนเกี่ยวกับกำรตรวจสอบกำรทุจริตในภำครัฐ
การใช้อานาจรัฐไปในทางมิชอบนั้น อาจจ าแนกได้ 2 ลักษณะ คือ ใช้อานาจโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
ิ
และใช้อานาจชอบด้วยกฎหมาย แต่ใช้ดุลยพนิจไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่เป็นธรรม ซึ่งเมื่อพจารณาจาก
ิ
บทบัญญัติในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติ
ิ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 หรือประมวลกฎหมายอาญา ที่เป็นบทบัญญัติเกี่ยวเนื่องกับการ
ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐแล้ว การใช้อานาจรัฐในทางมิชอบนั้น บางกรณีเกิดขึ้นจากเจตนาที่สุจริต โดยอาจ
เกิดจากการประเมินการณ์ที่ผิดพลาด คลาดเคลื่อน การที่มิได้ปฏิบัติตามขั้นตอน กระบวนการที่ส าคัญก็ได้
บางกรณีเกิดจากเจตนาทุจริตก็ได้โดยการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐที่เกิดจากการทุจริตเท่านั้น มีรายละเอียด ดังนี้
1) หลักการเกี่ยวกับองค์กรหรือบุคคลผู้ท าหน้าที่ในการตรวจสอบการทุจริตวัตถุประสงค์
ส าคัญของการตรวจสอบการทุจริต ก็คือ การป้องปราม กระบวนการทุจริตที่เกิดขึ้น และที่จะเกิดในอนาคต ซึ่ง
การปฏิบัติหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพไม่อาจเกิดขึ้นได้เลย หากปราศจาก (ก) นโยบายที่ชัดเจน โดยรัฐบาลต้อง
เอาจริงเอาจังกับการขจัดปัญหาการทุจริตในทุกระดับชั้น ทุกสังคม ทั้งต้องสร้างรัฐบาลที่ปราศจากการทุจริต
ิ
เต็มไปด้วยคุณธรรม (ข) ผู้ท าหน้าที่มีความเป็นอสระ ปราศจากการแทรกแซงใด ๆ ในการด ารงต าแหน่ง (ค)
การบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ปราศจากการใช้อคติ การครอบง า ความกลัว มีการท างานที่รวดเร็ว
97