Page 103 - thaipaat_Stou_2563
P. 103

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       ประชำกร


                       1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) คือ บุคลากรในหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ผู้อานวยการ/
               หัวหน้าข้าราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ท างานในหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมิน

               มาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี

                       2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) คือ บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่มา
               รับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

                       กลุ่มตัวอย่ำงผู้ให้ข้อมูล
                       1) กลุ่มตัวอย่างของผู้มีส่วนได้เสียภายใน คือ บุคลากรในหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร

                                                                                                     ้
               ผู้อ านวยการ/หัวหน้าข้าราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ท างานในหน่วยงานของรัฐที่เขาร่วม
               การประเมินมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี โดยก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างขั้นต่ าจ านวนร้อยละ 10 ของ

               จ านวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน แต่จะต้องมีจ านวนไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วน

               เสียภายในจ านวนน้อย (น้อยกว่า 30 คน) ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในทั้งหมด ส่วนกรณี
               หน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจ านวนมาก (มากกว่า1,000 คน) ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

               ภายในจ านวนไม่น้อยกว่า 100 ตัวอย่าง

                       2) กลุ่มตัวอย่างของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก คือ บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐ
                 ื่
               อนที่มารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่เข้าร่วมการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ.
               2562 โดยก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างขั้นต่ าจ านวนร้อยละ 10 ของจ านวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก แต่
               จะต้องมีจ านวนไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจ านวนน้อย (น้อยกว่า

                                                            ั้
               30 คน) ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกทงหมด ส่วนกรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
               จ านวนมาก (มากกว่า 1,000 คน) ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจ านวนไม่น้อยกว่า 100

               ตัวอย่าง

                       การก าหนดวิธีสุ่มตัวอย่างในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก จะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
               (Stratified Random Sampling) โดยการแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่ม ๆ เรียกว่า ระดับชั้น (Strata) แล้วสุ่ม

               หน่วยตัวอย่างจากทุกระดับชั้น เนื่องจากทราบความแตกต่างของประชากรตามประเภท การติดต่อ ซึ่งแบ่ง

                                                                                                ั
               ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ (1) งานหลักของหน่วยงาน (2) งานจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพสดุ (3) งาน
                                ื่
               สนับสนุน (4) งานอน ๆ ในฐานข้อมูลของประชากรในแต่ละหน่วยงานที่อยู่ในระบบ ITAS โดยการก าหนด
               สัดส่วนในแต่ละประเภทการขอรับบริการได้วิเคราะห์ข้อมูลในระบบ ITAS รวมถึงสอบถามจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
               เพื่อให้ได้สัดส่วนที่สะท้อนถึงความเป็นตัวแทนที่ดี ดังนี้

               ตารางที่ 2 แสดงสัดส่วนการขอรับบริการในแต่ละประเภทของงานบริการ
                          ประเภทงำนบริกำร                           สัดส่วนในกำรเก็บข้อมูล


                  1. งานหลักของหน่วยงาน             ร้อยละ 60 ของจ านวนตัวอย่างขั้นต่ าที่ต้องเก็บในหน่วยงาน

                                                    นั้น



                                                                                                     101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108