Page 178 - thaipaat_Stou_2563
P. 178
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
collaboration) บนข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานภาครัฐกับองค์กรทางสังคม
ธุรกิจเอกชน ตลอดจนชุมชนผู้ใช้สารสนเทศ
พจารณาจากประสบการณ์ของประเทศที่ให้บริการข้อมูลเปิด พบว่า ประเทศจ านวนหนึ่งประสบ
ิ
ผลส าเร็จในการบริหารจัดการข้อมูลเปิดภาครัฐ ให้เป็นไปตามเป้าประสงค์หลักที่ก าหนดไว้อย่างครบถ้วน
ี
ื่
ในขณะที่ประเทศอนๆ ท าได้แค่เพยงการบรรลุเป้าประสงค์บางข้อที่ไม่มีนัยส าคัญต่อความส าเร็จ หรือบาง
ประเทศที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์ในการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศเลย อาทิเช่น ข้อมูลเปิดที่มีผู้ใช้แต่ไม่อาจมีส่วน
ี
ร่วมกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูล หรือเป็นเพยงข้อมูลธรรมดาที่ไม่มีความส าคัญต่อการชี้เบาะแสเรื่องคอรับชั่น
ในกรณีของประเทศเคนย่า ที่ได้สร้างข้อมูลเปิดภาครัฐ โดยมีจุดมุ่งหมายเพอลดปัญหาคอรับชั่นของหน่วย
ื่
ราชการในประเทศ แต่สถิติจ านวนผู้ใช้ระบบข้อมูลเปิดกลับถดถอยลง และไม่ใช่ผู้ใช้ใหม่ๆ หรือที่เป็นข้อมูล
ปัจจุบัน (Davies, 2013; Jetzek, 2015) นอกจากนี้ การบรรลุเป้าประสงค์ของระบบข้อมูลเปิดของ
ประเทศมักมีขอบเขตจ ากัดเฉพาะการใช้งานในเขตเมืองใหญ่ ในขณะที่กลุ่มผู้ใช้ในเขตชนบท หรือท้องถิ่น
ห่างไกลกลับไม่ได้ประโยชน์มากนัก (Zuiderwijk, Shinde, & Janssen, 2019)
บทความนี้ มิได้มีจุดมุ่งหมายเพอประเมินผลการด าเนินงาน หรือการให้บริการข้อมูลเปิดภาครัฐของ
ื่
ไทยภายใต้กรอบเชิงนโยบาย หรือการด าเนินงานตามนโยบายรัฐบาลอเลคทรอนิคส์ (ในยุคต่อมาเปลี่ยนชื่อ
ิ
นโยบายเป็นรัฐบาลดิจิทัล และไทยแลนด์ 4.0) ซึ่งมักมีการปรับเปลี่ยน และเพิ่มเติมตามวาระเชิงนโยบายของ
รัฐบาลที่สลับเข้ามาบริหารประเทศมาโดยตลอดนับจาก ปี พ.ศ. 2540 อย่างไรก็ตาม บทความนี้พยายาม
วิเคราะห์ข้อมูลเปิดภาครัฐที่พฒนาขึ้นโดย สพร. ในฐานะหน่วยงานหลักผู้ท าหน้าที่ก าหนดแนวทางการพัฒนา
ั
ั
ั
ทั้งยังเป็นองค์กรผู้สนับสนุน และส่งเสริมการพฒนาด้านดิจิทัล รวมถึงการพฒนาศูนย์ข้อมูลกลางภาครัฐ
ตลอดจนระบบข้อมูลเปิดให้กับส่วนราชการ และผู้ใช้อื่นๆ ซึ่งอาจเป็นผู้ใช้ในเมืองใหญ่ ผู้ใช้ในภูมิภาค หรือผู้ใช้
ในระดับท้องถิ่นที่ห่างไกล
Body
ู
ข้อมลเปิด: นิยำม และคุณค่ำ
นักวิชาการ กลุ่มวิชาชีพ และข้าราชการผู้ปฏิบัติงานอาจให้ความหมายต่อสิ่งใหม่ที่เรียกว่า “ข้อมูล
ื้
เปิด” แตกต่างกันไปตามทัศนะของกลุ่มตน โดยพนฐานทางภาษาค าว่า “เปิด” และ “ปิด” เป็นสภาวะอย่าง
หนึ่งที่อธิบายถึงกระบวนการปฏิสัมพนธ์ระหว่างองคาพยพภายใน “ระบบ” หนึ่งๆ หรือในทางอเลคทรอนิคส์
ั
ิ
อาจเป็นสภาวะของการมีกระแสไฟฟาหล่อเลี้ยงในวงจร หรือสภาวะที่ไม่มีกระแสไฟฟาอยู่ในวงจร ในแง่มุม
้
้
หลังนี้ สภาพที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าซึ่งบ่งบอกว่าอุปกรณ์นั้น “ปิด” จึงท าให้การท างานของอุปกรณ์ และชิ้นส่วนใน
้
การท างานไม่อาจเป็นไปได้ ในทางตรงกันข้าม อปกรณ์ไฟฟาเริ่มท างานได้เมื่อกดสวิทช์เพอเปิดให้
ุ
ื่
กระแสไฟฟาหมุนเวียนในระบบการท างาน ตามการเปรียบเปรยนี้ สภาวะเปิด จึงก่อให้เกิดปฏิสัมพนธ์ และ
ั
้
การหมุนเวียนแลกเปลี่ยนภายในระบบ และอาจยังก่อให้เกิดการรับรู้ และการเปิดปฏิสัมพันธ์กับภายนอกได้
ั
ส าหรับความหมายกว้าง ข้อมูลเปิด แสดงนัยแห่งการเปิดอนครอบคลุมสิทธิ และเสรีภาพของผู้ใช้ซึ่ง
ได้รับจากผู้อนุญาตตามข้อก าหนด และเงื่อนไขของสัญญาอนุญาตเข้าใช้สิทธิ (Non Exclusive License) จาก
ข้อมูลดังกล่าว ในที่นี้ ผู้ใช้อาจเป็นใครก็ได้ และในการใช้นั้นก็ไม่มีข้อจ ากัดด้านเวลาที่ใช้ข้อมูล ไม่ต้องขอ
อนุญาตใช้สิทธิ และไม่มีค่าใช้จ่ายในการใช้ข้อมูลลัษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปรับ การเปลี่ยนแปลง การ
ื่
คัดลอก การเผยแพร่ การแจกจ่าย และการส่งข้อมูล ตราบเท่าที่การใช้ข้อมูลเหล่านั้นเป็นไปเพอวัตถุประสงค์
อนชอบด้วยกฎหมายแห่งรัฐ ดังนั้น สัญญาอนุญาตการเข้าใช้สิทธิในข้อมูลเปิดของหน่วยงานรัฐในประเทศ
ั
ต่างๆ จึงอาจมีขอบเขตแตกต่างกันบ้างตามระดับความเข้มข้นของกฎหมายแต่ละประเทศ ทั้งนี้ ประเทศที่มี
176