Page 179 - thaipaat_Stou_2563
P. 179

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ระดับการเปิดค่อยข้างสูง มักไม่ก าหนดเงื่อนไขการใช้งานข้อมูลที่ขัดต่อสาระส าคัญในเป้าหมายการเผยแพร่
               ข้อมูลเปิดแก่สาธารณะชน

                               ี่
                       ประเทศทผลิตข้อมูลเปิดอยู่ในล าดับต้นๆ ตามนัยที่เปิดกว้างส าหรับการใช้ข้อมูลได้อย่างเต็มรูปแบบมี
                                           ั
               จ ากัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพฒนาด้านดิจิทัลระดับสูง และประเทศโลกเสรีประชาธิปไตยล าดับต้นๆ อาทิ
               เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหราชอาณาจักร เยอร์มันนี ฝรั่งเศษ นอร์เวย์ ฟนแลนด์ แคนาดา ออสเตรเลีย
                                                                                ิ
                                                                                                     ั
               เกาหลีใต้ ไต้หวัน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเปิดของส่วนราชการต่างๆ และองค์กรของรัฐในประเทศพฒนา
               แล้วเหล่านั้นมีจ านวนมากมาย อาทิเช่น งบประมาณรัฐ การจัดซื้อ การออกกฎหมาย แผนที่การครอบครอง
               ที่ดิน คุณภาพอากาศ ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาข้อมูลเปิดให้ครอบคลุมประเด็นข้อมูลส าคัญๆ ที่ควรได้รับการ
                                                                  ื่
               เปิดเผย และการเผยแพร่ไปสู่การใช้งานข้อมูลตามเป้าหมายอนๆ นอกเหนือจากความโปร่งใส และการมีส่วน
               ร่วมของประชาชน จึงไม่อาจพฒนาได้รวดเร็วนัก เมื่อเทียบกับข้อมูลขนาดหมึมาที่เกิดขึ้น หรือถูกจัดเก็บ
                                          ั
               รวบรวมโดยหน่วยงานรัฐอยู่ตลอดเวลา
                       จากการส ารวจสถานะปัจจุบันของการเข้าถึง และใช้งานข้อมูลเปิดภาครัฐ ระดับนานาชาติตาม
               รายงานของหน่วยงานระหว่างประเทศ ชื่อ Open Data Barometer และ อกแห่งชื่อ Global Open Data
                                                                                ี
                                                                                        ั
               Index ในปี พ.ศ. 2557 และ 2558 พบว่า ข้อมูลเปิดที่มีมาตรฐานเบื้องต้นตามนิยามอนเป็นที่ยอมรับระดับ
               สากล ปรากฏพบเพียงร้อยละ 11 ของข้อมูลเปิดทั้งหมดที่ให้บริการในประเทศต่างๆเหล่านั้น  ทั้งนี้ ณ ปัจจุบัน
               ในปี พ.ศ. 2563 ข้อมูลเปิดภาครัฐของประเทศชั้นน าล าดับต้นๆด้านข้อมูลเปิดในบางประเด็น โดยเฉพาะ
               อย่างยิ่งข้อมูลด้านงบประมาณรัฐ กลับไม่เป็นที่เปิดเผยโดยประเทศเจ้าของข้อมูลเพราะการเปิดเผยข้อมูลใน

                       ี
               รายละเอยดอาจก่อให้เกิดข้อจ ากัดในการน าไปสู่ภาคปฏิบัติของส่วนราชการภายในประเทศเจ้าของข้อมูล
               นอกจากนี้การใช้ข้อมูลเหล่านั้นกลายเป็นความเสี่ยงเชิงการแข่งขันระหว่างประเทศ และความขัดแย้งกับ
               ประเทศอื่น (Ruijer et al., 2019)
                       ถึงแม้ว่าข้อมูลเปิดภาครัฐดูเหมือนยังมีข้อจ ากัดจากมุมมองเรื่องผลประโยชน์แห่งชาติ และอปสรรค์
                                                                                                   ุ
                                        ั
               อนอาจมาจากกรณีความสัมพนธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในมิติด้านความร่วมมือ การแข่งขัน และความ
                 ั
                                                                              ิ่
                       ั
               ขัดแย้งอนเป็นปรากฏการณ์ระหว่างรัฐที่มีความซับซ้อน   งานวิจัยจ านวนเพมมากขึ้นได้สรุปให้เห็นข้อดี และ
                                          ั
               ประโยชน์ที่รัฐได้รับจากการพฒนาระบบข้อมูลเปิด  (Zuiderwijk et al., 2019) ซึ่งครอบคลุมมิติด้าน
                                   ิ่

               การเมือง ได้แก่ การเพมความโปร่งใสให้กับหน่วยงาน  การเสริมสร้างพลังอานาจแก่ภาคปราชาชน  การ
               ส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพอการตรวจสอบการท างาน  ส าหรับมิติด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ประสิทธิภาพการจัดการ
                                    ื่
               ข้อมูล การส่งเสริมนวัตกรรมการท างาน  การเพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อประสานงาน และในมิติทางเทคนิค
               ได้แก่  การลดกระบวนการด าเนินงาน  การเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกง่ายดาย  การตัดสินใจได้อย่างยุติธรรมจาก
               ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ   ผลดีของข้อมูลเปิดโดยภาพรวมจึงเกิดขึ้นจากการเข้าถึงแหล่งข้อมูลโดยไม่มีค่าใช้จ่าย

               สูง  และลักษณะข้อมูลที่สะดวกต่อการน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ตามคุณค่าที่ผู้ใช้เล็งเห็น











                                                                                                     177
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184