Page 181 - thaipaat_Stou_2563
P. 181
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
มีส่วนร่วม และการเชื่อมโยงการท างานระหว่างหน่วยงานรัฐด้วยกัน สพร. ในฐานะองค์กรตามภารกิจใหม่เชิง
ข้อมูลของรัฐ จึงได้จัดตั้งศูนย์กลางข้อมูลภาครัฐ (Open Government Data Center) อย่างเป็นทางการ วันที่
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 โดยสามารถเข้าถึงได้ที่ https://data.go.th/ ต่อมาในปี พ.ศ. 2563
ั
แหล่งข้อมูลเปิดที่ให้บริการบนโดเมนเก่าได้รับการพฒนาและย้ายมาอยู่ที่ https://opendata.data.go.th
โดยมีการปรับรูปแบบ เนื้อหากลุ่มข้อมูล และส่วนผู้ใช้ให้มีความน่าสนใจ และมีความสะดวกในการใช้ยิ่งขึ้น
มำตรฐำนข้อมูลเปิด: เทคนิค และกำรยอมรับ
ความพยายามของรัฐบาลไทยในการเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศ ตลอดจนการสร้างความโปร่งใส และ
การมีส่วนร่วมของประชาชน อาจไม่ต่างไปจากประเทศส่วนใหญ่ ข้อมูลเปิดภาครัฐจึงได้รับการสนับสนุน
เพื่อให้เป็นไปตามแนวการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลอนเป็นที่ยอมรับในระดับสากล อย่างไรก็ตาม ความท้า
ั
ทายในการพฒนาทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจิตัลของไทยซึ่งอยู่ในฐานะผู้ซื้อ และผู้ใช้มากกว่าจะเป็น
ั
ั
ผู้สร้าง หรือผู้ก าหนดมาตรฐานให้กับนานาชาติ จึงท าให้เห็นข้อจ ากัดของการพฒนา และบริการข้อมูลเปิด
ภาครัฐไทยอยู่มาก ทั้งนี้ นอกเหนือจากประเด็นด้านมาตรฐานของระบบข้อมูลเปิดที่ให้บริการบนโดเมนหลัก
ประเด็นอื่นๆ ที่ส าคัญ อาทิเช่น การสร้าง และบันทึกข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล การท าให้เข้าถึง และการใช้งาน
ได้จริง ยังนับว่าเป็นช่องว่างของการพฒนา และการจัดท าข้อมูลเปิดของประเทศจ านวนมาก (Zuiderwijk et
ั
al., 2019)
ตามขอตกลงที่เรียกว่า สัตยาบันข้อมูลเปิดระหว่างประเทศ (International Open Data Charter) ซึ่ง
้
เกิดขึ้นจากการพัฒนาร่างข้อตกลงในปี พ.ศ. 2558 โดยนักวิชาการ ผู้เชียวชาญ ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมจากกลุ่มประเทศพัฒนาทางเศรษฐกิจ 8 ประเทศ (G8) และประเทศภาคี (Open
Government Partnership: OGP) หลักการส าคัญ 6 ข้อเกี่ยวกับข้อมูลเปิดภาครัฐประกอบด้วย (The
International Open Data Charter, 2015)
1. การเปิดเป็นฐานตั้งต้น (Open by Default)
2. ช่วงเวลาอันเหมาะสม และความครอบคลุม (Timely and Comprehensive)
3. การเข้าถึง และสามารถใช้การได้ (Accessible and Useable)
4. การเปรียบเทียบได้ และปรับข้ามรูปแบบได้ (Comparable and Interoperable)
5. การพัฒนาธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมภาคประชาชน (Improved Governance and Citizen
Engagement) และ
6. การพัฒนาแบบรวมส่วนอื่น และนวัตกรรม (Inclusive Development and Innovation)
นอกเหนือจากหลักการส าคัญ 6 ประการข้างต้น คณะท างานพฒนาระบบข้อมูลเปิดระหว่างประเทศ
ั
ี
ยังได้ก าหนดมาตรฐานระดับละเอยดในประเด็นที่เกี่ยวข้องอกมากมาย อาทิเช่น ด้านการเข้าถึงผ่านเว็บไซต์
ี
อปกรณ์การท างานรูปแบบอน และสมารท์โฟน ด้านรูปแบบไฟล์ข้อมูลที่ไม่ปิดกั้นการประมวลผลด้วย
ุ
ื่
ี
โปรแกรม ด้านการไม่ล าเอยงต่อสภาวะที่แตกต่างกันของบุคคลหรือกลุ่มคน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ความ
ั
ุ
เจริญก้าวหน้าด้านระบบอปกรณ์ และข้อมูลดิจิตัลของประเทศพฒนาด้านเทคโนโลยี มิได้เป็นอปสรรค์มากนัก
ุ
ั
กับการด าเนินการตามขอก าหนดเชิงมาตรฐาน และหลักการส าคัญอื่นๆ ส าหรับแนวทางการพฒนาข้อมูลเปิด
้
ภาครัฐของไทยโดย สพร. หลักการที่มีการเสนอให้หน่วยงานภาครัฐพิจารณาร่วมจัดท าข้อมูลเปิดมีรายละเอยด
ี
เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ส านักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล, 2558ข)
1. การเปิดโดยปริยาย (Open by default) ตามการก าหนดของหน่วยงาน
2. การป้องกันในกรณีที่จ าเป็น (Protected where required) ได้แก่ ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
179