Page 173 - thaipaat_Stou_2563
P. 173

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓






               สรุป

                       การช่วงชิงความหมายอานาจสถาปนาในรัฐธรรมนูญบนเส้นทางการพฒนาประชาธิปไตยผ่านเส้นทาง
                                                                                ั
               และนโยบายของพรรคอนาคตใหม่นั้น เป็นการพยายามอธิบายเรื่อง “อำนำจปฐมสถำปนำรัฐธรรมนูญ” ว่า

               ผลพวงทั้งหมดทั้งในเชิงโครงสร้างและสถาบันการเมือง การมีอยู่ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน การมีอยู่ของศาล
               รัฐธรรมนูญ เกิดจากการพล่ามัวในการตีความหมายของการก่อก าเนิดและความหมายของรัฐธรรมนูญที่
                                                                                                 ื่
               ปราศจากการยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญปี พ.ศ.2560 จึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ถูกท าขึ้นมาเพอสถาปนา
                                                                                      ื่
               อานาจของ คสช. ผ่านพรรคพลังประชารัฐเป็นส าคัญ โดยอาศัยสถาบันทางการเมืองอน เช่น ศาลรัฐธรรมนูญ

               ก.ก.ต. สนช. เป็นต้น มาเป็นเครื่องมือในการสกัดกั้นการใช้อานาจของประชาชนผ่านตัวแสดงทางการเมืองที่

               เรียกว่า “พรรคอนาคตใหม่” ในการเคลื่อนไหวและขับเคลื่อนประเด็นเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่เป็นมรดก

               ทางการเมืองของอานาจเผด็จการ ที่เกิดจากโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่เป็นรัฐธรรมนูญได้ถูกละเลย
               เรื่องการตีในความหมายว่าเป็นผลผลิตของสัญญะของการแตกหักกับระบอบเก่า มุ่งท าให้ประชาชนตระหนัก

               ถึงอานาจสถาปนาในรัฐธรรมนูญว่าแท้จริงแล้วประชาชนคือเจ้าของอานาจอธิปไตยตามความหมายของ

               ระบอบประชาธิปไตยสากล

               เอกสำรอ้ำงอิง


               ข่าวสด. (2562). “ธนำธร” ปลุกต้ำนรัฐประหำร! เอือมศึกแย่งเก้ำอี้ ซัด “บิ๊กตู่” จับ ปชช.เป็นตัวประกัน.
                       สืบค้น เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2562, แหล่งที่มา
                       :https://www.khaosod.co.th/politics/news_2672775.

                                                                                   ่
               จุมพล หนิมพานิช. (2552). กลุ่มผลประโยชน์กับกำรเมืองไทยแนวเก่ำ แนวใหม และกรณีศึกษำ.
                       กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 2.
               ชลัท ประเทืองรัตนา และสติธร ธนานิธิโชติ. (2559). องค์ควำมรู้ว่ำด้วยประชำธิปไตยแบบปรึกษำหำรือ
                       ส ำหรับสังคมไทย. ใน การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่18. กรุงเทพมหานคร: สถาบัน
                       พระปกเกล้า.

               ณัฐพล  ใจจริง. (2556). ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
                                                                                      ้
               ไทยโพสต์. (2563). ยุบพรรคอนำคตใหม่จุดไฟลำมทุ่ง! กำรเมืองไทยเข้ำสู่โหมดลงทองถนน. สืบค้นเมื่อ
                       วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563, แหล่งที่มา : https://www.thaipost.net/main/detail/57894.

                                        ้
               นฤพล สถาพร, ธีรัตม์ แสงแกว และธเนศ ปานหัวไผ่. (2560). กำรศึกษำวิเครำะห์กำรอ้ำงเหตุผลกรณีสร้ำง
                       ควำมหมำยเรื่องก ำเนิดประชำธิปไตยไทย. วารสารมนุษย์ศาสตร์ 24(2) หน้า 243-259.
               บีบีซี นิวส์. (2562). พิธีเปิดประชุมรัฐสภำ : พระรำชด ำรัสในหลวง ร.10 ให้สมำชิกรัฐสภำ “หนักแน่น
                       ด้วยเหตุผลที่ถูกต้อง”. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563, แหล่งที่มา

                       : https://www.bbc.com/thai/thailand-48392981.
               ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน.
                       นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
               ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). ‘ปิยบุตร’ แนะ ศำลรัฐธรรมนูญอดทนต่อเสียงวิจำรณ์ เป็นเสำหลักของ

                       บ้ำนเมือง. การประชุมสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 14 สิงหาคม 2562 ณ อาคารรัฐสภาใหม่ เกียกกาย.
               พงศธร ไชยเสน. (ม.ป.ป.). กำรพัฒนำระบอบประชำธิปไตยให้มั่นคงและยั่งยืน. กรุงเทพฯ : หลักสูตรหลักนิติ


                                                                                                     171
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178