Page 177 - thaipaat_Stou_2563
P. 177
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Keyword: Open Data, Open Innovation, Digital Government Development Agency, Usability
Introduction
ั
การพฒนาระบบบริการ “ข้อมูลเปิด” (open data) เพอส่งเสริมการใช้ข้อมูลโดยภาคธุรกิจ และ
ื่
สังคมภายนอกได้รับการกระตุ้นโดยนโยบายรัฐในหลายประเทศด้วยเหตุผลเชิงต้นทุน และการแข่งขันด้าน
ข้อมูล และสารสนเทศ ข้อมูลในยุคดิจิตัลเปรียบเสมือน “วัตถุดิบทางการผลิต” ซึ่งนักพฒนานวัตกรรมใน
ั
กลุ่มผู้ประกอบการทั้งในภาครัฐ และภาคธุรกิจต่างพยายามแสวงหา (Huber, Wainwright, & Rentocchini,
2020) ผลงานวิจัยจ านวนเพมมากขึ้นมีข้อสรุปคล้ายๆกันในลักษณะที่กล่าวถึงความส าคัญของข้อมูลเปิด
ิ่
และข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) ซึ่งเชื่อมโยงกับนวัตกรรมใหม่ๆ (Huber et al., 2020) และความโปร่งใส
ในการบริหารจัดการ (Ruijer, Detienne, Baker, Groff, & Meijer, 2019)
ความสนใจของกลุ่มแนวร่วมเกี่ยวกับข้อมูลเปิดเริ่มขยายใหญ่ขึ้นตามปริมาณสารสนเทศขนาดมหึมา
ซึ่งเกิดขึ้นควบคู่กับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิตัลที่แพร่กระจายไปสู่ประชาชนวัยต่างๆ องค์กรธุรกิจ
ดั้งเดิม ตลอดจนธุรกิจดิจิทัลใหม่ๆ (start up) โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังปี พ.ศ. 2552 ซึ่งรัฐบาล
ื่
สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรปเริ่มให้ความส าคัญ และปรับไปสู่แนวนโยบายเพอความโปร่งใสในภาครัฐ
ระดับสูงขึ้น จากการเปิดเผยข้อมูลตามปกติที่ด าเนินการมาอยู่แล้ว มาสู่การจัดท าข้อมูลที่เปิดกว้างส าหรับการ
ื่
ใช้ประโยชน์เพอการตรวจสอบ หรือการสร้างนวัตกรรม (Huber et al., 2020) ในปัจจุบัน รัฐบาลหลาย
ั
ประเทศ รวมถึงส านักงานพฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. ได้จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมความ
ตระหนัก และการใช้ข้อมูลเปิด (International Open Data Day) ผ่านเวทีวิชาการ การสัมมนา และการ
แข่งขันด้านข้อมูล (hackathons)
ั
ข้อมูลเปิดภาครัฐของไทย ได้รับการพฒนาขึ้นโดย สพร. ภายหลังที่ประเทศไทยเริ่มก าหนดแผนการ
พฒนาและนโยบายภาครัฐเกี่ยวกับอเลคทรอนิคส์ (e-Government) อย่างเป็นรูปธรรมเป็นครั้งแรกในช่วง
ิ
ั
ทศวรรษ 2540 ซึ่งประเด็นเกี่ยวกับข้อมูลดิจิทัลจ านวนมากได้ถูกยกระดับสูงขึ้น อาทิเช่น โครงการพฒนา
ั
ระบบเครือข่ายระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (Government Nervous System: GNS) ระบบเครือข่ายสื่อสาร
ข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ (Government Information Network: GIN) ระบบการให้บริการแบบ
อเลคทรอนิคส์ (G2P) ตลอดจนกฎหมายส าคัญด้านต่างๆ ที่ถูกบัญญัติขึ้น ได้แก่ การเปิดเผยข้อมูลและ
ิ
สารสนเทศของรัฐ (พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540) การท าธุรกรรมทางอเลคทรอนิคส์ (พรบ.ว่า
ิ
ด้วยธุรกรรมทางอเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544) ความผิดทางคอมพวเตอร์ (พรบ.ว่าด้วยการกระท าความผิด
ิ
ิ
ิ
เกี่ยวกับคอมพวเตอร์ พ.ศ. 2550) การให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล (พรบ.การบริหารงานและการ
ให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562) และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ก าลังด าเนินการล่าสุดใน
ปัจจุบัน (พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562) เป็นต้น
ภายใต้ความพยายามของรัฐ และเงื่อนไขข้อจ ากัดมากมายที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการขยายตัวของ
ิ
อเลคทรอนิคส์ และดิจิทัลที่ภาครัฐก าลังด าเนินการเชิงนโยบาย และก าลังน าไปใช้ในภาคปฎิบัติกับสังคมวง
ื่
ั
กว้าง หนึ่งในประเด็นส าคัญได้แก่ คุณภาพของระบบการด าเนินงานเพอส่งเสริม หรือพฒนาให้เป็นไปตาม
เป้าหมายเชิงนโยบาย และองค์ประกอบส าคัญที่สุดของการด าเนินการคือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้-ส่วนเสียที่
อาจได้รับ หรือเสียประโยชน์จากแนวทางการพฒนาดังกล่าว ข้อมูลเปิดภาครัฐที่บทความนี้ให้ความสนใจ
ั
สะท้อนให้เห็นภาพใหญ่ในความพยายามที่รัฐมีต่อการพัฒนาไปสู่สังคมดิจิทัลของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งความท้าทายในการส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเองจ านวนมาก และการสร้าง
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เกื้อหนุนให้เกิดการท างาน และการใช้งานร่วมกัน (participation and
175