Page 180 - thaipaat_Stou_2563
P. 180
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Global Open Data Index: GODI
(รายงานดัชนีชี้วัดเชิงเปรียบเทียบด้านข้อมูลเปิด โดยประเทศทั่วโลกที่ได้รับการจัดล าดับในแต่ละปีมีจ านวน
ิ่
เพมมากขึ้น และเป็นการจัดท าโดยองค์กรไม่แสวงหาก าไรระหว่างประเทศชื่อ Open Knowledge
Foundation)
International Open Data Conference
ี่
(การประชุมนานาชาติด้านข้อมูลเปิดซึ่งเป็นที่แสดงพัฒนาการ และกรณีศึกษาเกยวกับข้อมูลเปิดภาครัฐในกลุ่ม
ประเทศที่ได้รับเงินช่วยเหลือด้านการพัฒนา)
Open Data Barometer
(รายงานมาตรวัดบนเว็บไซต์ ทีมีการประเมินระดับความเป็นข้อมูลเปิดของรัฐในประเทศภาคีเครือข่ายที่
ื่
ั
ครอบคลุมระดับข้อมูลเปิดภาครัฐของประเทศพฒนาแล้ว ประเทศก าลังพฒนา และประเทศอนๆที่ต้องการ
ั
ความช่วยเหลือ ระบบแสดงข้อมูลพัฒนาขึ้นโดย World Wide Web Foundation)
United Nations World Data Forum
(การประชุมด้านข้อมูลส าคัญที่เกี่ยวกับการพฒนาระหว่างประเทศตามกรอบขององค์การสหประชาชาติ อาทิ
ั
ั
เช่น การติดตามเป้าหมายการพฒนาอย่างยั่งยืน 17 ด้าน ที่รู้จักในชื่อ Sustainable Development Goals:
SDG)
World Wide Web Consortium: W3C
(องค์กรระหว่างประเทศซึ่งท าหน้าที่พฒนาระบบมาตรฐานการใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บให้มีคุณภาพดี รองรับ
ั
การท างานบนแพลตฟอร์มที่หลากหลายได้)
World Wide Web Foundation
ั
(มูลนิธิเพอการพฒนาระหว่างประเทศเพอส่งเสริมการใช้อนเตอร์เน็ตของประเทศทั่วโลกเพอเปิดโอกาสในการ
ื่
ื่
ิ
ื่
ใช้ประโยชน์จากระบบอินเตอร์เน็ตสาธารณะอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม)
หน่วยงานระหว่างประเทศที่ส าคัญอันเป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนาด้านข้อมูลเปิดภาครัฐ
ั
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา จะพบว่าแนวโน้มการพฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐของประเทศต่างๆ ด าเนินไป
อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จากยุคที่คนเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบปัจเจกบุคคล หรือแบบปิด มาสู่การ
ิ
ิ
ใช้อนเตอร์เน็ตโดยเชื่อมต่อคอมพวเตอร์แบบตั้งโต๊ะไปสู่เว็บไซต์ และเครือข่ายอนเตอร์เน็ตซึ่งมีข้อมูลทั่วโลก
ิ
ิ
หรือแบบเปิด จวบจนถึงปัจจุบันซึ่งสมาร์ทโฟน และระบบการสื่อสารบนอนเตอร์เน็ต (Transition Control
Protocol: Internet Protocol) สามารถท างานร่วมกันเพอประมวลผลข้อมูลจ านวนมาก (ครอบคลุมข้อมูลที่
ื่
เป็นภาพ เสียง คลิป อักขระ ตัวเลข สัญลักษณ์ ฯลฯ) ได้อย่างรวดเร็ว การเปิดข้อมูลภาครัฐให้ประชาชน และ
ื้
กลุ่มองค์กร วิชาชีพทั้งหลาย จึงมีโอกาสความเป็นไปได้สูงเพราะเทคโนโลยีเอออานวยให้สามารถท าได้
นอกจากนี้ยังเป็นเงื่อนไขของการพฒนาอย่างมีส่วนร่วม เกิดความโปร่งใส และธรรมาภิบาลในการบริหาร
ั
และบริการสาธารณะ
ิ
ั
กรณีของไทย ส านักงานพฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ สพร. (เดิมชื่อ ส านักงานรัฐบาลอเล็กทรอนิกส์ ใน
ั
ชื่อย่อสรอ.) เป็นส่วนหนึ่งของกระแสการพฒนาด้านข้อมูลตามทิศทางของนานาชาติ และอาศัยกรอบการ
ิ
พฒนาอนเป็นที่ยอมรับขององค์กรระหว่างประเทศด้วยเหตุผลความจ าเป็นบางอย่าง หรืออทธิพลที่ได้รับจาก
ั
ั
ความรู้ และกระบวนการส่งผ่านนวัตกรรมในยุคแห่งโลกาภิวัฒน์ นโยบายรัฐจึงก าหนดให้ประเด็นด้านการ
เปิดเผยข้อมูล สารสนเทศ และข้อมูลเปิดภาครัฐ เป็นส่วนที่แสดงถึงความโปร่งใส การเปิดโอกาสให้ประชาชน
178