Page 184 - thaipaat_Stou_2563
P. 184
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
้
และการเหมืองแร่ (10) กระทรวงสาธารณสุข (61) กรุงเทพมหานคร (14) การรถไฟฟาขนส่งมวลชนแห่ง
ประเทศไทย (16) ธนาคารแห่งประเทศไทย (9) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ ากัด (มหาชน) (24) บริษัท วิทยุ
การบินแห่งประเทศไทย จ ากัด (32) บริษัทไปรษณีย์ไทย จ ากัด (ส่วนกลาง) (16) ศูนย์อานวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ (6) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (15) ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (5)
ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (5) ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง (28) ส านักงานเศรษฐกิจ
ุ
อตสาหกรรม (6) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (21) ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (7)
ส านักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (5) ส านักงาน
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (18) ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สังกัด
กระทรวงยุติธรรมที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี) (6) ส านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (21) ส านักงาน
ั
ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (14) ส านักงานปลัดกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ (13) ส านักงานปลัดกระทรวงคมนาคม (5) ส านักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ (11) ส านักงาน
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (17) ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (51) ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ั
(159) ส านักงานพฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (15) ส านักงานศาลยุติธรรม (24) ส านักงานสถิติ
ื่
แห่งชาติ (555) องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพอการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) (21)
แหล่งข้อมูลเปิดจ านวนมากที่สุดได้มาจากความร่วมมือกับส านักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งมีชุดข้อมูลมาก
ที่สุดจ านวน 555 ชุดข้อมูล รองลงมาได้แก่ ส านักงานพระพทธศาสนาแห่งชาติ (159) และชุดข้อมูลเปิด
ุ
จ านวนน้อยที่สุด เป็นข้อมูลจาก กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (4) กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (4) และ กรมประมง
(4) อย่างไรก็ตาม จ านวนชุดข้อมูลที่มีจ านวนมาก หรือน้อยจากส่วนราชการที่ให้บริการบนระบบข้อมูลเปิด
ภาครัฐเหล่านี้ มิได้เป็นเป็นสิ่งสะท้อนถึงคุณภาพของข้อมูลเปิดตามมาตรฐานที่ สพร. ก าหนด แต่สะท้อนให้
ิ่
เห็นว่าปริมาณข้อมูลเปิดภาครัฐ จากส่วนราชการต่างๆ มีแนวโน้มเพมขึ้น ทั้งนี้ ปริมาณรายการข้อมูลเปิด
ั
ล่าสุด ณ เดือนกุมภาพนธ์ พ.ศ. 2563 บนพอร์ทอล opendata.data.go.th มีจ านวน 1,330 รายการ
เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2560 ซึ่งมีจ านวน 1,048 รายการ ซึ่งนับว่าเป็นอัตราการเพิ่มที่ต่ ามาก
จากการให้คะแนนการเปิดเผยข้อมูลเปิด ที่ส่วนราชการต่างๆ ได้ให้บริการชุดข้อมูลของตน โดยมี
สพร. เป็นผู้ประเมิน และแสดงไว้ในเว็บไซต์ที่ลิงค์ไปสู่ชุดข้อมูลหน่วยงาน พบว่า ข้อมูลจ านวนมากอยู่ใน
รูปแบบไฟล์ประเภท PDF, DOC, TXT, TIFF, JPEG ซึ่งอยู่ในระดับการเปิดขั้นต้นที่สามารถดูได้เท่านั้น ข้อมูล
ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบไฟล์ประเภท XLS, CSV, ODS, XML, JSON, KML, SHP, KMZ ซึ่งมีโครงสร้างข้อมูลที่
สามารถเปิดใช้งานผ่านโปรแกรมที่หลากหลาย และสามารถประมวลข้อมูลเชิงปริมาณได้สะดวกรวดเร็วส าหรับ
ิ
ผู้ใช้ แต่ยังมีข้อจ ากัดในแง่ความสะดวกในการใช้งาน หากพจารณาจากมิติการใช้ประโยชน์ข้อมูลเปิดพบว่า
ข้อมูลมากกว่าหนึ่งในสี่ของชุดข้อมูลทั้งหมด ไม่อาจน าไปใช้ได้อย่างสะดวกนัก เนื้องจากขาดรายละเอียดข้อมูล
ื่
ระดับสูง (Metadata) เพออธิบายคุณลักษณะของชุดข้อมูลนั้นๆ ตามแนวทางที่ สพร. ก าหนดไว้ใน “แนว
ปฏิบัติและมาตรฐานทางเทคนิคส าหรับศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ” (ส านักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล, 2558ข)
นอกเหนือจากรูปแบบประเภทไฟล์ของมูลเปิดที่ให้บริการ ประเด็นข้อมูลเปิดในด้านคุณภาพ ความ
สะดวกในการใช้ ความครอบคลุม และความทันสมัยของข้อมูล ถือเป็นเงื่อนไขให้ข้อมูลเปิดได้รับการยอมรับ
จากผู้ใช้กลุ่มต่างๆ ซึ่งอาจมีเป้าหมายแตกต่างกันออกไป อาทิเช่น นักเรียน นักวิจัย นักวิชาการ ที่อาจใช้ข้อมูล
ในด้านการเรียนรู้ในเรื่องที่น่าสนใจ ภาคประชาชน และองค์กรทางสังคมอาจใช้ติดตามผลการด าเนินงานของ
ภาครัฐ นักธุรกิจ นักสร้างสรรค์สิ่งใหม่อาจใช้ในการวิเคราะห์ตลาดการให้บริการ และความต้องการของลูกค้า
ไม่ว่าผู้ใช้เหล่านั้นจะเป็นใคร ข้อมูลเปิดที่มีคุณภาพสูงย่อมสร้างผลกระทบที่ดีแก่ผู้ใช้ ในลักษณะตรงกันข้าม
ข้อมูลเปิดที่มีข้อจ ากัดมาก จะสร้างอุปสรรค์มากมายแก่ผู้ใช้ และแปรเป็นระดับการยอมรับข้อมูลเปิดที่ต่ า และ
182