Page 186 - thaipaat_Stou_2563
P. 186
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Conclusion
ในทศวรรษที่ผ่านมา ข้อมูลเปิดภาครัฐมีความส าคัญส าหรับกระบวนการบริหารอย่างมีธรรมาภิบาล
และเป็นแนวโน้มการพัฒนาด้านข้อมูล และสารสนเทศภายในหน่วยงานภาครัฐที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ สพร. ใน
ั
ฐานะที่มีบทบาทน าในการพฒนาระบบข้อมูลกลางภาครัฐนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ได้ด าเนินการก าหนด
แนวทาง และสร้างมาตรฐานการท างานเพอให้ข้อมูลสารสนเทศภาครัฐสามารถใช้งานร่วมกัน ส่งเสริมการมี
ื่
ั
ส่วนร่วมตรวจสอบภารกิจของหน่วยงานรัฐ ส่งเสริมการใช้ข้อมูลส าคัญอนเกื้อหนุนต่อการวิจัย และสร้าง
นวัตกรรมทางสังคม ตลอดจนข้อมูลเชิงนโยบายสาธารณะ อนมีฐานมาจากแหล่งข้อมูลกลางภาครัฐ อย่างไร
ั
ั
ก็ดี การพฒนาข้อมูลเปิด และการสร้างแรงจูงใจให้กับส่วนราชการเพอเปิดเผยข้อมูล ยังมีข้อจ ากัดทั้งในเชิง
ื่
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานข้อมูลเปิด และเชิงสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับการมองประโยชน์ด้านข้อมูลของผู้ใช้
ดังหลักฐานที่แสดงให้เห็นผ่านสถิติการใช้ และคุณภาพของบริการศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐจากเว็บไซต์
opendata.data.go.th และ data.go.th
ื่
การขยายภาคีเพอสร้างระบบข้อมูลเปิดภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลและสารสนเทศจากราชการ
ส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะช่วยเกื้อหนุนให้ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
เหล่านั้นเกิดความตระหนัก และเข้าใจความส าคัญของข้อมูลเปิดในสถานะเครื่องมือของการพัฒนาแบบเปิด มี
ภาพลักษณ์แห่งความโปร่งใส และเกื้อหนุนให้ภาคประชาชน ชุมชนวิชาการ นักธุรกิจ ตลอดจนนักสร้างสรรค์
ั
ั
ได้เข้ามาใช้ประโยชน์จากข้อมูลอนมีค่าจ านวนมากของหน่วยงานภาครัฐ ตัวแบบการพฒนาข้อมูลเปิดที่รวม
ศูนย์อยู่เพยงแห่งเดียวดังที่ด าเนินการโดย สพร. อาจเป็นการเริ่มต้นในระยะแรกที่ดีเพราะหน่วยงานภาครัฐ
ี
้
จ านวนมากยังขาดความเขาใจ และ มีความพร้อมในการพัฒนาระบบข้อมูลเปิดไม่เพียงพอ อย่างไรก็ตาม แนว
ทางการขยายระบบข้อมูลเปิดในระยะยาวอาจไม่เหมาะสมกับระบบข้อมูลเปิดแบบรวมศูนย์อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง
ในทางกลับกัน การพฒนาให้เกิดการกระจายฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ และการส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันระหว่าง
ั
ื่
หน่วยงานเพื่อบริการข้อมูลที่ดีและมีมาตรฐานสูงขึ้นอาจเป็นกลยุทธ์เพอขยายระบบข้อมูลเปิดให้เหมาะสมตาม
เป้าหมายของรัฐ
References
Davies T. (2013). Open data barometer: 2013 global report. Available at: http://www.open
dataresearch.org/dl/odb2013/Open-Data-Barometer-2013-Global-Report.pdf
Herrera-Melo, C. A., & Gonzalez-Sanabria, J. S. (2019). Proposal for the Evaluation of Open
Data Portals. Revista Facultad De Ingenieria, Universidad Pedagogica Y Tecnologica
De Colombia, 29(54), 19. doi:10.19053/01211129.v29.n0.2020.10194
Huber, F., Wainwright, T., & Rentocchini, F. (2020). Open data for open innovation: managing
absorptive capacity in SMEs. R & D Management, 50(1), 31-46.
doi:10.1111/radm.12347
International Open Data Charter. (2015). เข้าถงได้จาก https://opendatacharter.net/history/
ึ
Jetzek T. (2015). The Sustainable Value of Open Government Data. Uncovering the
Generative
184