Page 185 - thaipaat_Stou_2563
P. 185
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ไม่ช่วยให้เป้าหมายส าคัญของการพัฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐส าเร็จอย่างที่คาดหวังตามวัตถุประสงค์
ี
ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ความครอบคลุมของข้อมูลเปิดภาครัฐของ สพร. ยังจ ากัดอยู่เพยงราชการ
ส่วนกลางระดับกรม และหน่วยงานที่เทียบเท่าซึ่งแม้จะเป็นข้อมูลที่ส าคัญ และน่าสนใจ แต่ยังมีข้อมูลจ านวน
ั
มากมายของส่วนราชการระดับภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ยังไม่ได้รับการพฒนาเป็นข้อมูลเปิด
ั
หรือด าเนินการเผยข้อมูลสารสนเทศในลักษณะข้อมูลเปิดตามมาตรฐานที่ สพร.พยายามพฒนาขึ้น ทั้งนี้ หาก
ิ
เป้าหมายของบริการ ข้อมูลเปิดคือการยกระดับการให้บริการประชาชน ผ่านบริการอเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
ื่
เพอให้เกิดการบูรณาการ การเชื่อมโยงกับความโปร่งใส และการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ความสมบูรณ์
และครอบคลุมการในการให้บริการที่ครบถ้วน ครอบคลุม เข้าถึงได้ง่าย ในภาพรวมของประเทศยังนับเป็น
โอกาสแห่งการพัฒนาได้อีกมาก
สถิติการเข้าดูชุดข้อมูลเปิดภาครัฐบนศูนย์ข้อมูลเปิดที่ สพร. ให้บริการ (data.go.th) ณ เดือน
ั
กุมภาพนธ์ พ.ศ. 2563 พบว่าสถิติการเข้าดูรายการข้อมูลอนเป็นที่นิยมมากที่สุด 5 อนดับแรกตามล าดับ
ั
ั
ความถี่ ได้แก่ 1. “รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน จ าแนกตามภาค และจังหวัด พ.ศ. 2541 – 2558”
(312,959 ครั้ง) 2. “ข้อมูลพกัด LAT/LONG ที่ตั้งต าบล” (252,003 ครั้ง) 3. “จ านวนรถจดทะเบียน
ิ
ั
(สะสม) ณ วันที่ 29 กุมภาพนธ์ 2559” (196,666 ครั้ง) 4. “รายได้เฉลี่ยต่อปีของคนและครัวเรือน (ราย
จังหวัด) จากข้อมูล จปฐ ปี 2558” (193,514 ครั้ง) และ 5. “ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล พ.ศ. 2558
รายชื่อนิติบุคคลจัดตั้งใหม่ เดือนมกราคม” (185,858 ครั้ง) สถิติข้างต้นที่น าเสนอนี้บ่งบอกถึงระดับ และ
ปริมาณการใช้ข้อมูลที่ยังพฒนาได้อกมาก ทั้งนี้ การเข้าดูข้อมูลเปิดบนเว็บไซต์ที่ลิงค์ไปยังรายการข้อมูล
ั
ี
ดังกล่าวไม่อาจบอกได้ว่าผู้ใช้ได้ดาวโหลดไฟล์ข้อมูลประเภทใดไปใช้อย่างไรบ้าง ทั้งยังเป็นข้อมูลที่ไม่ทันสมัยนัก
ประโยชน์ที่ผู้ใช้กลุ่มต่างๆ จะได้รับจากการใช้ข้อมูลเปิดภาครัฐ ถือเป็นเงื่อนไขด้านแรงจูงใจที่ส าคัญ
อนท าให้เกิดพฤติกรรมการใช้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการมีส่วนร่วมโดยการเรียกร้องข้อมูลเปิดอนเป็นประโยชน์
ั
ั
ต่อการท างานของตน อย่างไรก็ตามเมื่อพจารณารายการข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐแห่งนี้ จะพบว่า
ิ
ลักษณะการน าเสนอ การก าหนดฟลด์ข้อมูล การจัดตารางน าเสนอ ตลอดจนการค าอธิบายข้อมูลที่ปรากฏอยู่
ี
ในไฟล์ยังขาดมาตรฐานอนจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถท าความเข้าใจ และจัดการประมวลผลข้อมูลได้ด้วยตนเอง
ั
อย่างสะดวก ง่ายดาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งศูนย์กลางข้อมูลภาครัฐบนพอร์ทอลเก่า (data.go.th) ซึ่งเป็นเว็บไซต์
เวอร์ชั่นเริ่มต้นของการพัฒนาระบบข้อมูลเปิดภาครัฐ ต่อมาจึงมีการปรับปรุง และจัดการระบบข้อมูลเปิด การ
ั
จัดกลุ่มข้อมูล ระบบไฟล์บริการ และการค้นหาที่สะดวกแก่การน าไปใช้ยิ่งขึ้น เมื่อ สพร.ได้พฒนาศูนย์กลาง
ข้อมูลภาครัฐบนพอร์ทอลแห่งใหม่ (opendata.data.go.th) และได้เปิดบริการต้นปี พ.ศ. 2563
การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ของระบบข้อมูลเปิดไม่อาจท าได้ชัดเจนหากเป้าหมายของการพฒนาขาด
ั
ความชัดเจน และการสนับสนุนที่เพียงพอ เช่นเดียวกับศูนย์ข้อมูลภาครัฐไทยที่ยังไม่มการประเมินอย่างแท้จริง
ี
เมื่อเทียบกับเป้าหมายโดยทั่วไปของการสร้างระบบข้อมูลเปิดของนานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น
ด้านการมีส่วนร่วมตรวจสอบข้อมูลภาครัฐ การแสดงความโปร่งใสในข้อมูลผลลัพธ์การบริหารจัดการ และการ
ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมที่ต่อยอดจากข้อมูลกลางที่ส าคัญจากหน่วยงานของรัฐ การประเมินผลกระทบจาก
การพฒนาข้อมูลเปิดเพอบริการสาธารณะชนเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และสามารถพฒนาเป็นโจทย์เพอการวิจัยใน
ั
ื่
ั
ื่
ระดับองค์กร และการเรียนรู้ระดับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในแขนงสาขาวิชามากมายได้เป็นอย่างดี ที่กล่าว
เช่นนี้เพราะศูนย์บริการข้อมูลเปิดภาครัฐมีการจัดกลุ่มขอมูล จ าแนกตามลักษณะส าคัญๆ อาทิเช่น จ าแนกตาม
้
หน่วยงาน จ าแนกตามรายการข้อมูล จ าแนกตามความถี่ในการเข้าดู จ าแนกตามประเภทไฟล์ข้อมูล ฯลฯ โดย
แหล่งข้อมูลเปิดของ สพร. แห่งนี้ได้เอื้ออานวยให้ผู้ใช้สามารถเขาถึงข้อมูลรายการต่างๆ ได้ง่าย รวดเร็ว และไม่
้
เสียค่าใช้จ่าย
183