Page 270 - thaipaat_Stou_2563
P. 270
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
งานวิจัยของศุภวัธ มีบุญธรรม จะเป็นเรื่องของการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของนิตินักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีความสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของงานวิจัยนี้คือ แนวคิด
ั
ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมืองจึงเป็นเป้าหมายส าคัญของการพฒนาระบบ
การเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตย เพราะการมีส่วนร่วมทางการเมืองจะเป็นดัชนีตัวชี้วัดที่ส าคัญของระบอบ
ประชาธิปไตย ดังนั้นความเป็นประชาธิปไตยจะสูงหรือต่ าย่อมขึ้นอยู่กับระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นส าคัญ
ข้อเสนอแนะจำกงำนวิจัย
(1) ผลการวิจัยประชากรที่ใช้ในการศึกษา เพศ ระดับชั้นปี ศาสนา คณะ รายได้ แหล่งที่มาของรายได้
ึ
แหล่งที่มาของความรู้และภูมิล าเนา ท าให้เห็นความแตกต่างของสถานภาพทั่วไปของนักศกษา
(2) ผลการวิจัยความเข้าใจเกี่ยวกับการการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร ปี 2562 ของ
นักศึกษาภาคปกติชั้นปีที่ 1-4 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม จังหวัดพษณุโลก นั้นท าให้เห็น
ิ
ิ
ถึงการตื่นตัวในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร จะต้องพจารณาให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายถึง
ิ
ความต้องการของนักศึกษาในแต่ละคณะ จึงจะท าให้เกิดประสิทธิผล
(3) การรับรู้แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารแต่ละประเภทเกี่ยวกับการการไปใช้สิทธิเลือกตั้งปี 2562
ิ
ิ
ิ
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม จังหวัดพษณุโลก ท าให้เห็นถึงการพจารณาวัตถุประสงค์และ
การวางแผนในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎรของนักศึกษาได้ชัดเจนมากขึ้น
(4) การรับรู้แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารของนักศึกษาภาคปกติชั้นปีที่ 1-4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก เกี่ยวกับการการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎรปี 2562 ท าให้สามารถ
เลือกสรรวิธีการน าเสนอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎรให้สอดคล้องกับ
กลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มนักศึกษาได้อย่างชัดเจน
(5) ควรท าการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งเสริมให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เพื่อที่จะทราบถึงสาเหตุ ปัจจัย
ที่มีผลให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามความต้องการของประชาชน
เอกสำรอ้ำงอิง
ภำษำไทย
์
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ.
ชัยอนันต์ สมุทรวณิช. (2519). เอกสารการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพ: สถาบันสยามศึกษา สมาคม
สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
ชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ตาก: โปรเจ็คท์ ไฟฟ-ไฟว์.
์
ั
ณฐวัฒน์ คณารักสมบัติ. (2558). รายงานการวิจัยการรับรู้สื่อประชาสัมพนธ์ของนักศึกษาที่มีผลต่อการ
ตัดสินใจ เข้าศึกษาต่อใน มรธส. กรุงเทพ: มหาลัยราชภัฏธนบุรี.
ณรงค์ โพธิ์พฤษานันท์. (2556). ระเบียบวิธีวิจัย หลักการ และแนวคิดเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย.
กรุงเทพ: แอคทีฟ พริ้นท์.
ดุษฎี วรธรรมดุษฎี. (2558). วารสารพัฒนาสังคม. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา.
บุญร่วม เทียมจันทร์. (2561). การเลือกตั้ง พ.ศ.2561. กรุงเทพ: The Law Group.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2549). ส านึกไทยที่พงปรารถนา. กรุงเทพ: มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยใน
ึ
พระบรมราชูปถัมภ์.
268