Page 268 - thaipaat_Stou_2563
P. 268

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ความเข้าใจของบุคคลที่มีต่อการเมืองนั้นมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคล
               นั้นๆไม่ว่าจะเป็นการเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การอภิปรายถกเถียงปัญหาทางการเมือง

               เป็นต้น โดยมีความสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมทางการเมืองมาใช้ในการอภิปรายผลถึงระดับ
               ความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษาถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมทางการเมือง และ
               สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับกฎหมายการเลือกตั้ง โดยที่นักศึกษาจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
               กฎระเบียบ กติกา หรือข้อบังคับในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างถูกต้อง แม่นย า และตามพระราชบัญญัติแห่ง

               กฎหมายการเลือกตั้ง ประชาชนทุกคนจะต้องปฏิบัติตามกฎ กติกา การเลือกตั้ง รวมถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
               การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
                                                                                    ั
                                                          ั
                       นอกจากนี้ผลการศึกษายังสื่อไปถึงการพฒนาประชาธิปไตยและการพฒนาทางการเมือง โดยที่
               นักศึกษาหรือประชาชนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมีความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง และมี
               แนวโน้มที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยเฉพาะการเลือกตั้งมากขึ้น และสามารถที่จะท าให้ประชาธิปไตย
                                                                                                     ั
                                 ั
               และระบบการเมืองพฒนาขึ้นได้ เนื่องจากว่าการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นเป้าหมายส าคัญของการพฒนา
               ระบบการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นตัวชี้วัดที่ส าคัญประการหนึ่ง
               ของระบอบประชาธิปไตย สังคมใดจะมีระดับความเป็นประชาธิปไตยสูงหรือต่ าจะต้องพิจารณาจากระดับการมี

               ส่วนร่วมทางการเมือง โดยสังคมที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองสูง สังคมนั้นก็จะเป็นสังคมที่มีระดับความ
               เป็นประชาธิปไตยสูงตามไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดในเรื่องของการพัฒนาประชาธิปไตยกับการพัฒนาทาง
               การเมือง และผลการศึกษายังมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของ วัฒนิกา ศิลปะกุล (2550, น.117) ที่ศึกษา

               เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชนในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตาม
               เจตนารมณ์ของธรรมนูญที่ต้องการให้การเมืองเป็นของพลเมือง และงานวิจัยของ วัฒนิกา ศิลปะกุล โดยพบว่า
                                                                 ั
               กลุ่มวัยรุ่นหรือคนรุ่นใหม่ได้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการพฒนาการ และมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย
               ผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่เริ่มที่จะให้ความสนใจและเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วน
               ส าคัญในการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งให้กับระบอบประชาธิปไตยของไทย


                       ควำมเข้ำใจที่มีต่อกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ


                       การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2562  วิเคราะห์
               ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
               สามารถอภิปรายผลได้ว่า ความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม
                                                                                                ิ
               อยู่ในระดับน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย 1.74) แสดงให้เห็นว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามมีความเข้าใจ

               ในเรื่องของการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในระดับที่น้อยมาก เนื่องจากว่าในการท า
                                                                                                       ่
               แบบสอบถามมีทั้งนักศึกษาที่อานค าถามแล้วคิดวิเคราะห์ก่อนลงมือท าแบบสอบถาม และนักศึกษาที่ไม่อาน
                                         ่
                          ่
                                                                            ี
               ค าถามหรืออานแบบผ่านๆแล้วท าแบบสอบถาม (กาดิ่งลงมาแบบมั่วๆ) อกประการหนึ่งอาจจะเป็นเพราะว่า
               แบบสอบถามที่ทางคณะผู้วิจัยได้ท าการคิดขึ้นมาอาจจะไม่ครอบคลุมในเรื่องของการไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง
               ได้ทั้งหมด จากผลการศึกษาได้มีความสอดคล้องกับหลักแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพฒนาประชาธิปไตย โดย
                                                                                     ั
               พบว่านักศึกษายังขาดความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งบวกกับประสบการณ์ในการไปให้สิทธิเลือกตั้งของ
               นักศึกษายังน้อยเพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกของนักศึกษาส่วนใหญ่ จึงท าให้นักศึกษายังขาดความเข้าใจใน
                                                                    ึ
               ระบอบประชาธิปไตยอยู่มาก จ าเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาให้นักศกษาได้เข้าใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองให้
                             ิ่
                         ื่
               มากขึ้น เพอเพมความเข้าใจให้กับนักศึกษา รวมถึงความเข้าใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษา
                                                                                             ื่
                                  ิ
               มหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงครามจึงมีความสอดคล้องกับแนวคิดการพฒนาทางการเมือง เพอให้การเมืองมี
                                                                           ั
                                                                                                     266
   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273