Page 269 - thaipaat_Stou_2563
P. 269

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ความเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงได้ย่อมต้องอยู่กับการพัฒนาการเมืองก็เป็นส่วนที่ส าคัญที่จะเป็นตัวกระตุ้น
               ให้เกิดพฤติกรรมการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเป็นส าคัญ จึงแสดงให้เห็นถึงคุณค่าในการ

                                                                   ็
               พัฒนาการเมืองไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยในสังคมได้อย่างแขงขัน
                      นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่าการที่นักศึกษาหรือประชนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมีแนวโน้มที่
               จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งเพมมากขึ้น ท าให้ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
                                                                ิ่
               เพมขึ้นด้วย เนื่องจากระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นจะสูงหรือต่ าขึ้นอยู่กับว่าประชาชนในประเทศที่มี
                  ิ่
               ความเข้าใจและให้ความสนใจต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากน้อยแค่ไหน โดยถ้าประชาชนใน
                       ี
               ประเทศมความเข้าใจและให้ความสนใจต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมาก ระดับการมีส่วนร่วมทางการ
               เมืองก็จะมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีในเรื่องของการมีส่วนร่วมทางการเมือง และยังมี
               ความสอดคล้องกับงานวิจัยของ นุกุล ชิ้นฟัก และคณะ (2554, น.89) โดยพบว่าความเข้าใจของบุคคลที่มีต่อ

               การเมืองนั้นมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคลนั้นๆ เนื่องจากว่าในการที่
               ประชาชนจะเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งและเลือกผู้แทนให้ตรงตามความต้องการของตนเองนั้นประชาชนผู้มีสิทธิ
               ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจ าเป็นที่จะต้องมี  ความเข้าใจในเรื่องของการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยเฉพาะในเรื่อง
               ของการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายและข้อก าหนดในการเลือกตั้ง เข้าใจนโยบายที่นักการเมืองแต่ละพรรค

               ใช้ในการหาเสียงเป็นต้น และผลการศึกษาวิจัยยังมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของมานพ เข็มเมือง (2557, น.
               94) ในเรื่องของการที่ประชาชนผู้มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งได้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการ
               พัฒนาการมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตยผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งที่ประชาชนผู้มีสิทธิในการลงคะแนนเสียง

               เลือกตั้งให้ความสนใจและเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น

                      แหล่งที่มำของข้อมูลกำรรับรู้ข่ำวสำรในกำรไปใช้สิทธิเลือกตั้งของนักศึกษำ

                      การศึกษาแหล่งที่มาของข้อมูลในการรับรู้ข่าวสารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูลสงคราม
                                                                                                ิ
               พบว่ามาจากการศึกษาเล่าเรียนคิดเป็นร้อยละ 70.3 แสดงให้เห็นว่านักศึกษาส่วนใหญ่นั้นมีความเข้าใจในเรื่อง
               การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ซึ่งแหล่งความรู้ที่ได้นั้นมาจากการศึกษาเล่าเรียน แสดงในเห็นว่าการเรียนการสอนนั้น
               เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดที่ช่วยให้นักศึกษามีฃความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน

               ราษฎร ปี 2562 ในประเด็นศึกษาแหล่งที่มาของข้อมูลในการรับรู้ข่าวสารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
               พบูลสงครามโดยจากการที่นักศึกษารับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านแหล่งต่างๆ ซึ่งข้อมูลที่ได้รับมาจะเป็นตัวกระตุ้น
                 ิ
                                                                             ั
               ส าคัญที่ท าให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงสถานการณ์ปัจจุบันของไทยว่าจะพฒนาขึ้นหรือถอยลง เนื่องจากการ
               บริหารงานของรัฐบาลที่มาจากการท ารัฐประหารท าให้สภาพเศรษฐกิจตกต่ าลงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนแย่ลง

               กว่าเดิม และสิ่งเหล่านี้ท าให้คนไทยทุกคนได้รับผลกระทบอย่างมาก
                      ผลจากการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันของไทยท าให้นักศึกษาให้ความสนใจและเข้ามามีส่วนร่วม
               ทางการเมืองมากยิ่งขึ้นเป็นไปตามแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่ว่าการเมืองเป็นเรื่องของทุกคน
                                                                                                 ั
               และทุกคนก็ไม่สามารถปฏิเสธผลกระทบทางการเมืองต่อการด ารงชีวิตของประชาชนได้ สอดคล้องกบงานวิจัย
               ของศุภวัธ มีบุญธรรม (2554,น.78) ผลการศึกษาพบว่า นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีการรับรู้ข่าวสาร
               ทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับต่ า โดยที่เพศและสาขาวิชาที่ศึกษามีความสัมพันธ์กับการ
               รับรู้ข่าวสารทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง  ซึ่งมีความสอดคล้องกับงานวิจัยเรื่องความเข้าใจ
               เกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2562 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพบูล
                                                                                                       ิ
               สงคราม ในประเด็นเกี่ยวกับความเข้าใจในการไปใช้สิทธิการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษา
                                  ิ
               มหาวิทยาลัยราชภัฏพบูล-สงคราม อยู่ในระดับที่ต่ า ซึ่งมีความสอดคล้องกับงานวิจัยดังกล่าว แต่ในส่วนของ
                                                                                                     267
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274