Page 272 - thaipaat_Stou_2563
P. 272
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
กำรพัฒนำกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติด ในเขตเทศบำลต ำบลห้วยกะปิ อ ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
People Participation Development in Narcotic Solving Problem in Huaykapi Municipality Muang District,
Chonburi Province
1
ปิยะวดี ปิยะเสถียร และ นพดล อุดมวิศวกุล 2
1
Piyawadee Phiyasatien & Noppadol Udomwisawakul 2
1 หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี ประเทศไทย
2 รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี ประเทศไทย
1 Degree of Master of Public Administration Sukhothai Thammathirat Open University Nonthaburi, Thailand
2 Assoc. Prof. Dr., Management Science Sukhothai Thammathirat Open University Nonthaburi, Thailand
piyawadee phiyasatien@gmail.com
บทคัดย่อ
้
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดของโลกมีผู้ใชยาเสพติดประมาณ 27 ล้านคน มีผู้ที่ติดยาเสพติดเพียงร้อยละ 0.6 ที่
เข้าถึงการรักษา และมีผู้ต้องขังเพิ่มมากขึ้นท าให้เกิดปัญหาในกระบวนการยุติธรรม การปราบปรามเพียงด้านเดียวไม่สามารถ
ท าให้การแก้ไขปัญหาประสบความส าเร็จได้ การน าการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนมีความส าคัญยิ่ง เพราะประชาชน
้
เป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในการใชเหตุผลส าหรับการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษา
ิ
สภาพปัญหา 2) วเคราะห์ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 3) เสนอแนวทางของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไข
ปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ิ
้
การศึกษาครั้งนี้ใชระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานคือ การวิจัยเชงปริมาณและการวิจัยเชงคุณภาพ ประชากรคือ
ิ
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ที่มีอายุตั้งแต่ 20- 60 ปี ทั้งหมด 7 หมู่บ้านมีจ านวน
ื่
้
9,523 คน ผู้ศึกษาใชสูตรของทาโร่ยามาเน่ ท าให้ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 383 คน ที่ระดับความเชอมั่นร้อยละ 95 ผู้ให้
้
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทั้งหมด 7 คน เครื่องมือที่ใชคือ แบบสอบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใชใน
้
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ การหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ f- test ในการวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย
ผลการศึกษาพบว่า (1) การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดยังไม่เพียงพอ
และทั่วถึง ประชากรแฝงไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการ
̅
แก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ ปัจจัยด้านการมีอ านาจในการตัดสินใจของประชาชน ( = 3.49) ด้านความร่วมมือใน
̅
̅
กระบวนการของการตัดสินใจร่วมกัน ( = 3.52) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ( = 3.41) ด้านการมีส่วนร่วม
̅
̅
ในการรับฟังความคิดเห็น ( = 3.50) และด้านการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร ( = 3.47) ในส่วนของระดับการ
พัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ คุณภาพการตัดสินใจของ
̅
ุ
ุ
ประชาชนในการจัดการกับปัญหายาเสพติดของชมชน ( = 3.46) กระบวนการของชมชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
̅
̅
( = 3.34) การสร้างการยอมรับในการมีส่วนร่วมของประชาชน ( = 3.44) และด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
̅
ผู้บริหารท้องถิ่นกับประชาชน ( = 3.46) การทดสอบสมมติฐานโดยการใช้สถิติ f-test ได้ค่าSig (1- tailed) เท่ากับ 0.00
มีค่าน้อยกว่า 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน HO และยืนยันสมมติฐาน Ha ท าให้สรุปผลได้ว่า ระดับการพัฒนาการมีส่วน
ร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรีแตกต่างกันอย่างมี
นัยยะส าคัญที่ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน (3) แนวทางของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด คือ ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นและมีอ านาจในการตัดสินใจอย่างแทจริง การตัดสินใจที่มา
้
ุ
จากประชาชนเป็นการประชมร่วมกัน ในการปรึกษาหารือเพื่อหาทางแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด เทศบาลเป็น
หน่วยงานที่มีความส าคัญในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ แต่ยังขาดการ
สนับสนุนทางราชการต้องรับฟังเสียงของประชาชน ให้ประชาชนเป็นผู้เลือกเป็นผู้ตัดสินใจแนวทางและวิธีการเพื่อน าไปสู่
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
270