Page 48 - thaipaat_Stou_2563
P. 48

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ระเบียบวิธีวิจัย

                       การวิจัยเรื่องแนวทางการบริหารงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วน
               ท้องถิ่น สามารถอธิบายระเบียบวิธีวิจัยเป็น 2 ขั้นตอนได้ดังนี้



                                                                                                       ่
                                                            ิ
                                         ิ
                       ขั้นตอนที่ 1  ประเมนผลกำรด ำเนินงำนวจัยผู้สูงอำยุในเขตเทศบำลต ำบลน้ ำโจ้ อำเภอแมทะ
               จังหวัดล ำปำง
               ด าเนินการดังนี้
                            1)  ผู้ให้ข้อมูลหลัก
                                                               ั
                                                             ื่
                            การวิจัยแนวทางการบริหารงานวิจัยเพอพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วน
                                                        ั
               ท้องถิ่นเรื่องนวัตกรรมการบริหารจัดการเพอพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้
                                                     ื่

               อาเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้จึงได้แก่กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ
               เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุของเทศบาลต าบลน้ าโจ้ ผู้วิจัยได้ประเมินผลการด าเนินการวิจัยโดยใช้แนว
               ทางการประเมินแบบซิป (CIPP MODEL) เป็นแนวทางในการประเมินในครั้งนี้โดยใช้ผู้ให้ข้อมูลหลักจาก
               คณะวิจัยจากทั้ง 3 โครงการย่อย จ านวน 6 คน เป็นผู้ประเมินผลการด าเนินงานดังกล่าว

                            2)  เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
                            เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้

                            (1) เอกสำร (Documents) จากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโครงการผู้สูงอายุ
               ของเทศบาลต าบลน้ าโจ้ แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                                                                  ั
                                                                          ั
                                                                       ื่
               องค์ความรู้ที่จ าเป็นส าหรับการสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการเพอพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ  ต ารา
               บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและเว็บไซต์ต่างๆ
                            (2) กำรประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) โดยการประชุมร่วมกันตามประเด็น

               แนวทางการประเมินแบบซิป (CIPP MODEL) จากผู้ให้ข้อมูลหลัก

                           3) กำรวิเครำะห์ข้อมูล
                       การวิเคราะห์ข้อมูลเริ่มด้วยการจ าแนกและจัดระบบข้อมูล (Typology and Taxonomy) จากนั้นท า
                                                                       ุ
               การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์สรุปอปนัย (Inductive Analysis) เพอให้ทราบ
                                                                                                 ื่
               การประเมินผลการด าเนินการวิจัยโครงการย่อย
                              ขั้นตอนที่ 2 แนวทางการพฒนาการบริหารงานวิจัยผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้
                                                      ั
               อ าเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง ด าเนินการดังนี้
                              1)  ประชำกร และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก
                              ประชากรในการศึกษา ได้แก่ กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพอพฒนาคุณภาพ
                                                                                               ั
                                                                                            ื่
               ชีวิตของผู้สูงอายุของเทศบาลต าบลน้ าโจ้ ผู้ศึกษาได้เลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) จากการเลือก
               แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการผู้สูงอายุ
               ของเทศบาลต าบลน้ าโจ้ จ านวน 7 คน และแกนน าผู้สูงอายุของแต่ละหมู่บ้านในเขตพนที่เทศบาลต าบลน้ าโจ้
                                                                                      ื้
               หมู่บ้านละ 1 คน รวมเป็นจ านวน 10 คน รวมถึงนักวิจัยในโครงการ จ านวน 6 คน

                           2) เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
                           เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้



                                                                                                       46
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53