Page 46 - thaipaat_Stou_2563
P. 46

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓








               Keywords: Quality of Elderly Life, Local Administrative Organization
                                                          บทน ำ
                       การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่เกิดขึ้น อย่างรวดเร็วในช่วง 3 - 4 ทศวรรษที่ผ่านมา

               ท าให้ประเทศเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัย ตั้งแต่ประมาณปี 2543 - 2544 คือ มีประชากรอายุ 60 ปี คิดเป็น

               สัดส่วนมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด นอกจากสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีอีกตัวบ่งชี้หนึ่งที่
               แสดงถึงการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว นั่นคือ “ดัชนีการสูงวัย” (Aging Index) ซึ่งแสดงถึงการเปรียบเทียบ

               โครงสร้างการทดแทนกันของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้น ไป) กับกลุ่มประชากรวัยเด็ก (อายุต่ า
               กว่า 15 ปี ) โดยดัชนีการสูงวัยมีค่าต่ ากว่า 100 แสดงว่าจ านวนประชากรสูงอายุมีน้อยกว่าจ านวนเด็ก แต่

               ในทางตรงข้ามถ้าดัชนีมีค่าเกินกว่า 100 แสดงว่าจ านวนประชากรสูงอายุมีมากกว่าจ านวนประชากรเด็ก

               สาเหตุส าคัญของการเพมสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว เนื่องมาจากปัจจัยส าคัญ 2 ประการ (มูลนิธิ
                                   ิ่
               สถาบันวิจัยและพฒนาผู้สูงอายุไทย, 2558) กล่าวคือ 1) การลดลงของภาวะเจริญพนธุ์หรือการเกิดน้อยลง
                              ั
                                                                                       ั
               และการลดภาวการณ์ตายท าให้อายุคนไทยยืนยาวขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้ประชากรวัยเด็กลดลง
               อย่างรวดเร็วจนน ามาสู่การเพมขึ้น ของสัดส่วนประชากรสูงอายุซึ่งมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก
                                         ิ่
               ข้อมูลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยปี 2558 - 2573 จะเห็นว่าภาพรวมประเทศไทยอยู่ใน

               สถานการณ์ “สังคมสูงวัย” (Aged Society) และในอก 10 ปี ข้างหน้าจะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์
                                                            ี
               (Completed Aged Society) (ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2558)

                       การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของประชากรในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นประเด็นที่ได้รับความ
               สนใจกันเป็นอย่างมากทั้งในระดับชาติและในระดับโลก เนื่องจากมีผลกระทบอย่างกว้างขวางในระดับมหภาค

               ได้แก่ ผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายได้ต่อหัวของประชากร การออมและการลงทุน

               งบประมาณของรัฐบาล   การจ้างงานและผลิตภาพของแรงงาน และระดับจุลภาค ได้แก่ ผลต่อตลาดผลิตภัณฑ  ์
                                                                                              ื่
               และบริการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการเงินและด้านสุขภาพ การเตรียมความพร้อมเพอรองรับการ
               เปลี่ยนแปลงดังกล่าว จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนส าคัญที่ต้องการการวางแผนอย่างเป็นระบบและเริ่มด าเนินการ
               ล่วงหน้า เนื่องจากมาตรการต่าง ๆ หลายประการล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลาในการด าเนินการ กว่าจะเห็นผลอย่าง

               เป็นรูปธรรม  ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

               ไว้ว่า ควรมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการออมส่วนบุคคล ได้แก่ 1) ส่งเสริมการท างานอย่างต่อเนื่องของ
                                           ึ่
                                                                                  ิ่
               แรงงานที่มีอายุมากให้สามารถพงตนเองได้ 2) ส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้เพมขึ้น สร้างโอกาสทางอาชีพ
               ให้กับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย และลดรายจ่ายแก่ประชาชน 3) ส่งเสริมสร้างจิตส านึกการออม 4) เพิ่มประสิทธิภาพ
               กลไกทางการเงิน ในการจัดท ามาตรการส่งเสริมการออมแตกต่างกันตามกลุ่มเป้าหมาย 5) พฒนาระบบ
                                                                                                ั
                                                                             ิ่
               บ านาญภาครัฐ เช่น นโยบายลดหย่อนภาษีด้านการสะสมเงิน สนับสนุนเพมบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
               ของรัฐ เป็นต้น และ 6) การสร้างความเข้มแข็งของโครงข่ายคมครองทางสังคม เพื่อช่วยเหลือกลุ่มที่ไม่สามารถ
                                                                  ุ้
                                                                                                       44
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51