Page 50 - thaipaat_Stou_2563
P. 50

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                               “ทางเทศบาลต าบลน้ าโจ้ ยังไม่ได้จัดท าแผนงานที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุโดยตรง รวมถึงการ

               เก็บข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์แผนที่เป็นทางการ การท างานร่วมกนครั้งนี้ระหว่างนักวิจัยกับประชาชนในพนที่
                                                                                                       ื้
                                                                      ั
               จะเป็นจุดเริ่มต้นในการท าแผนชุมชนของผู้สูงอายุที่ดี”
                                                                                 ื้
                              ทั้งนี้การด าเนินการวิจัยที่มีความสอดคล้องกับบริบทของพนที่ ทางผู้วิจัยได้เริ่มต้นจาก
               การศึกษาทบทวนยุทธศาสตร์ทั้งในระดับชาติ และระดับจังหวัด มาเป็นกรอบในการออกแบบการวิจัย และน า
                                                          ื้
               ข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลส ารวจในพนที่ ส่งผลให้โครงการวิจัยมีความสอดคล้องในการพฒนา
                                                                                                      ั
               คุณภาพชีวิตของพื้นที่เป้าหมายได้
                              2)  ด้ำนปัจจัยน ำเข้ำ (Input)

                              ในด้านปัจจัยน าเข้า (Input) ผู้วิจัยได้ประเมินในประเด็นความสอดคล้องของบุคลากรนักวิจัย
               งบประมาณ สถานที่ ต่อความเหมาะสมในการด าเนินโครงการวิจัย โดยในส่วนของโครงการวิจัยบุคลากร

               นักวิจัยได้มีความเหมาะสมในการด าเนินการวิจัย เนื่องจากการเก็บข้อมูลการวิจัยเป็นกระบวนการกลุ่ม ทาง

                                                                  ี่
               คณะวิจัยได้มีผู้ช่วยนักวิจัยร่วมเป็นผู้เก็บข้อมูล รวมถึงเป็นพเลี้ยงในการเก็บข้อมูลร่วมกับผู้ให้ข้อมูลหลัก ซึ่ง
               ได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และแกนน าผู้สูงอายุ ส่งผลให้การเก็บข้อมูลสามารถท าได้อย่างรวดเร็ว และได้

               ข้อมูลที่มีความครบถ้วน ดังข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อย กล่าวว่า


                              “ทางคณะวิจัยได้ใช้ผู้ช่วยนักวิจัย ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มบุคคลที่มีส่วนช่วยในการท างานวิจัยได้
               เป็นอย่างดี เนื่องจากมีส่วนในการสร้างกระบวนการคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูล สามารถ
               เก็บข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และครบถ้วน”
                              ในส่วนของความเหมาะสมของงบประมาณในการด าเนินงานของโครงการวิจัย สามารถใช้
               งบประมาณที่วางแผนไว้ในข้อเสนอการวิจัยเพื่อด าเนินการวิจัยบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้

                              3) ด้ำนกระบวนกำร (Process)
                                                                                           ั
                                                                                        ื่
                              ในส่วนของกระบวนการด าเนินการวิจัยนวัตกรรมการบริหารจัดการเพอพฒนาคุณภาพชีวิต

               ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อาเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง ถือว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมกับพื้นที่
                                                          ื่
               เนื่องจากทางผู้วิจัยได้ส ารวจเก็บข้อมูลเบื้องต้น เพอน าไปสู่การจัดท าข้อเสนอการวิจัย ปรับเปลี่ยนข้อเสนอ
                                          ื้
               งานวิจัยให้มีความเหมาะสมกับพนที่ โดยส่วนส าคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้กระบวนการด าเนินการวิจัยมีความ
               เหมาะสมมาจากการวางแผนการด าเนินงานของสถาบันวิจัย และพฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฎล าปางที่มี
                                                                        ั
               ส่วนร่วมในการประสานงานส ารวจพนที่ รวมถึงเก็บข้อมูลที่ใช้ในการพฒนาโจทย์วิจัย เช่นเดียวกับโครงการ
                                              ื้
                                                                          ั
               ย่อยเรื่องการจัดท าฐานข้อมูลและสารสนเทศการพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลต าบลน้ าโจ้ อาเภอแม่

                                                          ั
               ทะ จังหวัดล าปาง
                              ส่วนที่มีความส าคัญอกประการหนึ่งได้แก่ กระบวนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยคณะวิจัย
                                               ี
                                                                                                      ี
               ได้ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ให้ข้อมูล ท าให้บทบาทของนักวิจัยเป็นเพยงผู้
               สรุปประเด็นข้อมูลต่างๆ มากกว่าการเป็นคนบรรยาย ดังข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อย กล่าวว่า

                              “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรามีกระบวนการที่นักวิจัยมีบทบาทในการเป็นผู้ด าเนินรายการ ให้
               เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างอิสระ ท าให้เราได้ข้อมูลที่มีความชัดเจน และหลากหลาย”
                              4)ด้ำนผลผลิต (Product)


                                                                                                       48
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55