Page 51 - thaipaat_Stou_2563
P. 51

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                      ั
                                                                                   ื่
                              ผลผลิตที่ได้จากการวิจัยเรื่องนวัตกรรมการบริหารจัดการเพอพฒนาคุณภาพชีวิตของ

               ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อาเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง สามารถด าเนินการวิจัยได้ผลผลิตตาม
               วัตถุประสงค์ทั้ง 3 โครงการย่อย ได้แก่ ระบบสารสนเทศที่สามารถใช้งานได้ง่าย และสามารถแก้ไขข้อมูล
               เพมเติมเพอน าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้ ทั้งนี้ทางคณะวิจัยได้เก็บข้อมูลร่วมกันกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
                        ื่
                 ิ่
                                                                    ึ
               การใช้งานสารสนเทศดังกล่าว พบว่า ทางหน่วยงาน มีความพงพอใจต่อผลผลิตการวิจัยดังกล่าว เนื่องจาก
               สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายภารกิจ และเป็นผลผลิตที่มีส่วนช่วยในการท างานด้านสาธารณสุขที่
               เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุได้ดียิ่งขึ้น ดังข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อย กล่าวว่า
                              “ระบบสารสนเทศหลังจากที่เราออนไลน์ให้มีการใช้งานแล้วนั้น สามารถจัดเก็บข้อมูลของ

                                                                                                   ื่
               เทศบาลต าบลน้ าโจ้ได้ และมีโหมดการท างานที่ง่ายต่อการใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเพมเติมได้ เพอรองรับ
                                                                                         ิ่
               การท างานภารกิจต่างๆ โดยเฉพาะการสาธารณสุขของผู้สูงอายุได้”
                              รวมถึงผลผลิตเป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อ าเภอแม่
               ทะ จังหวัดล าปาง เพอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาลต าบลน้ าโจ้ น าข้อมูลดังกล่าวไปประกอบการ
                                 ื่
               จัดท าแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ ทั้งนี้ในส่วนของโครงการวิจัยย่อยดังกล่าว ได้
               ผลผลิตเป็นแนวทางทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อ าเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง

               แต่ยังไม่ได้น าไปสู่การจัดท าแผนให้กับเทศบาลต าบลน้ าโจ้ เนื่องจากข้อจ ากัดในกลไกการบริหารงานของ

               หน่วยงานที่มีแนวทางการปฏิบัติตามโครงสร้างการท างานของเทศบาล แต่ทั้งนี้ผลผลิตที่ได้ดังกล่าวจะเป็น
               ข้อมูลที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์กับหน่วยงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ และผลผลิตเป็นการ

               จัดการเครือข่ายในการพฒนาเครือข่ายของผู้สูงอายุ โดยอาศัยกระบวนการเสริมพลัง (Empowerment) และ
                                    ั
                                  ั

               ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุเพอพฒนาคุณภาพชีวิตในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อาเภอแม่ทะ
                                                       ื่
                                                         ั
               จังหวัดล าปาง ซึ่งผลผลิตที่เกิดขึ้นดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ในโครงการวิจัย
               แนวทำงกำรพัฒนำกำรบริหำรงำนวิจัยผู้สูงอำยุในเขตเทศบำลต ำบลน้ ำโจ้ อ ำเภอแม่ทะ จังหวัดล ำปำง
                       ในส่วนของแนวทางการพฒนาการบริหารงานวิจัยผู้สูงอายุ ในกรณีศึกษาเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้
                                             ั
                                                                       ั

               อาเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง ผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นแนวทางการพฒนาเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ การบริหาร
               งานวิจัยของนักวิจัยและพื้นที่ และการบริหารงานวิจัยเรื่องประเด็นการวิจัย สามารถแสดงผลการศึกษา ได้ดังนี้
                       1)  กำรบริหำรงำนวิจัยของนักวิจัย และพื้นที่

                                                                ื้
                       ในส่วนของการบริหารงานวิจัยของนักวิจัย และพนที่ จากการวิจัย พบว่า โครงการวิจัยงบประมาณ
                                                            ื้
               รายได้ในปี พ.ศ. 2561 มีการจัดโครงการวิจัยในพนที่เขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้เป็นจ านวนมาก และเป็น
               ประเด็นเดียวกัน ได้แก่ ประเด็นผู้สูงอายุ ท าให้เกิดปัญหาในการประสานงาน เนื่องจากหลายโครงการวิจัยใน

               งบประมาณดังกล่าวใช้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลชุดเดียวกัน ส่งผลให้เกิดความซ้ าซ้อน ในการลงพนที่ ส่งผลต่อความ
                                                                                         ื้
               สับสนของผู้ให้ข้อมูล ดังข้อมูลจากการลงพื้นที่ กล่าวว่า

                        “เรามีโครงการวิจัยหลายเรื่องในพื้นที่ แต่ใช้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลกลุ่มเดียวกัน ท าให้ลงพื้นที่บ่อย มีการเก็บ
               ข้อมูลบ่อย ส่งผลต่อข้อมูลที่ได้อาจจะเกิดความสับสนของผู้ให้ข้อมูลได้”
                       จากสภาพปัญหาดังกล่าวสามารถหาแนวทางการพฒนาการบริหารงานวิจัยได้โดยการประสานงาน
                                                                 ั
                      ื้
                                                     ื่
               การลงพนที่ โดยมีการประชุมกลุ่มนักวิจัย เพอระบุประเด็นที่เก็บข้อมูล แล้วนัดหมายการเก็บข้อมูลร่วมกัน
               เพื่อช่วยให้การเก็บข้อมูลไม่ซ้ าซ้อน และไม่สร้างภาระเรื่องเวลาให้กับผู้ให้ข้อมูล
                                                                                                       49
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56