Page 53 - thaipaat_Stou_2563
P. 53
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
ื่
หมวดหมู่งานวิจัยเพอให้เกิดความเชื่อมโยงกันมากขึ้น เพอให้ผลผลิตที่ได้มีความชัดเจน และสามารถน าไปสู่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ดียิ่งขึ้นไป
การประเมินผลการด าเนินงานวิจัยผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลน้ าโจ้ อาเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง
พบว่า มีความเหมาะสมตามองค์ประกอบตามการประเมินแบบซิป (CIPP Model) และผลที่ได้จากการ
ประเมินนั้นเป็นข้อเสนอแนะที่สามารถใช้ในการวางแผนการวิจัยได้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับ โสภา แซ่ลี
(2558) กล่าวว่า แบบจ าลองซิปป์ จะเป็นการประเมินในเรื่องต่างๆ ดังนี้ คือ
1) การประเมินสภาพแวดล้อม (Context Evaluation) ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน
ในการก าหนดวัตถุประสงค์ (Planning Decisions)
ื่
2) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการสร้างเพอ
ก าหนดรูปแบบของโครงการ (Structuring Decisions)
3) การประเมินกระบวนโครงการ (Process Evaluation) เป็นการตัดสินใจด้านการประยุกต์เพอ
ื่
ควบคุมการด าเนินการของโครงการไปปฏิบัติ (Implementing Decisions)
4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) จะช่วยในการตัดสินใจเพอตัดสินและดูผลส าเร็จของ
ื่
โครงการหรือทบทวนโครงการ (recycling decisions)
ทั้งนี้จากผลการศึกษาทางนักวิจัย และหน่วยงานสามารถน าผลการศึกษาดังกล่าวไปใช้ในการวางแผน
ตัดสินใจ เพอเพมประสิทธิภาพในการท างานได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประเมินสภาพแวดล้อม (Context
ิ่
ื่
Evaluation) ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนในการก าหนดวัตถุประสงค์ (Planning Decisions)
นั้น จากการด าเนินการวิจัย พบว่า ความส าเร็จในการด าเนินการวิจัยที่ส าคัญประการหนึ่งมาจากการเรียนรู้
ื้
บริบทของพนที่เป้าหมาย เพอก าหนดออกแบบงานวิจัยให้มีความเหมาะสมได้ และช่วยในการวางแผนการ
ื่
ท างานที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงผลการวัจัยครั้งนี้มีความสอดคล้องในเรื่องระเบียบวิธีวิจัยของ สุพร คูหา
(2552) ได้ศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของเทศบาล ต าบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ที่เป็น
การศึกษาแนวทางการพฒนาในมิติเชิงลึก เพอได้แนวทางการพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่สะท้อนบริบทของ
ั
ั
ื่
พื้นที่ และมีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
บรรณนำนุกรม
ู
ชมพนุท พรหมภักดิ์. 2556. กำรเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุของประเทศไทย (Aging Society in Thailand).
บทความวิชาการส านักวิชาการส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ปีที่ 3 ฉบับที่16 สิงหาคม 2556.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพฒนาผู้สูงอายุไทย. 2558. สถำนกำรณผู้สูงอำยุไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ:
ั
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ิ
สุพร คูหา. 2552. แนวทำงกำรปรับปรุงคุณภำพชีวตผู้สูงอำยุของเทศบำลต ำบลหนองขำว อำเภอท่ำม่วง
ั
จังหวดกำญจนบุรี. รายงานการศึกษาอสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
ิ
ปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อัดส าเนา.
โสภา แซ่ลี. 2558. กำรประเมินโครงกำรคืนครูให้นักเรียน โดยประยุกต์ใช้รูปแบบกำรประเมิน
CIPP Model สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 3. ปริญญาครุศา
สตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
51