Page 70 - thaipaat_Stou_2563
P. 70

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                           การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน เพอให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นประชากรนอก
                                                                  ื่
                                ่
               ระบบโรงเรียน ได้แก ประชากรก่อนวัยเรียน ประชากรที่อยู่ในวัยเรียนแต่พลาดโอกาสเข้าศึกษาในระดับต่าง ๆ
                                         ้
               ตลอดจนประชาชนที่มีอายุพนวัยเรียนในระบบโรงเรียนแล้ว จนถึงผู้สูงอายุ การจัดกิจกรรมการศึกษา
               วัตถุประสงค์ในการเรียนที่ชัดเจน โดยมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับสภาพ
               ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย มีความยืดหยุ่นในเรื่องหลักสูตร เวลาเรียน สถานที่เรียน วิธีเรียน
                                                                                                        ื่
               ในด้านผู้เรียน ไม่มีข้อจ ากัดในเรื่องอายุ อาชีพ พนฐานการศึกษา เน้นการเรียนเรื่องที่เป็นสภาพปัจจุบัน เพอ
                                                        ื้
                                             ื้
               แก้ปัญหาในชีวิตประจ าวัน เป็นพนฐานในด ารงชีวิตและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมให้เข้ากับสภาพสังคม
               สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (สุมาลี สังข์ศรี, 2544: 2) ดังนั้น การจัดการศกษานอกระบบจึงมี
                                                                                          ึ
               หลักการพื้นฐานที่ส าคัญ (วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา, 2557: 33 - 35) ดังนี้
                              1) การศึกษาที่เกิดขึ้นได้ทุกหนทุกแห่ง ไม่เฉพาะในระบบโรงเรียน

                              2) ความเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์
                              3) ความสอดคล้องกับธรรมชาติและความต้องการที่มีความแตกต่างหลากหลาย
                                                                                                ั
                              4) การจัดกระบวนการเรียนรู้ ยึดหลักความเสมอภาคทางการศึกษา หลักการพฒนาตนเอง
               และการพึ่งพาตนเอง หลักการบูรณาการเรียนรู้และวิถีชีวิต หลักการความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

               และหลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วม
                      2.2 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
                           การศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ที่มีอยู่ ที่ไม่แสดงออกหรือเปิดเผยออกมา

               (Tacit Knowledge) และกระบวนการเรียนรู้ที่แฝงอยู่ (Implicit Learning) เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่ไม ่
               เป็นแบบแผน ไม่เป็นกระบวนการ เป็นลักษณะเฉพาะของผู้เรียนแต่ละบุคคล การด าเนินชีวิตประจ าวัน การ
               แสวงหาความสนใจเฉพาะเรื่อง จึงท าให้การศึกษาตามอธยาศัยมีความเฉพาะตัว (Uniqueness) (วีระเทพ ปทุม
                                                             ั
               เจริญวัฒนา, 2557: 40 - 43) ดังนี้
                              1) การศึกษาตามอัธยาศัยท าให้มีกระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นภายนอกสภาพแวดล้อม การ

               เรียนรู้ที่ถูกจัดไว้ รวมถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากกิจกรรมและความสนใจของบุคคล หรือกลุ่มบุคคล
                                                                                                        ื่
                                              ั
                              2) การศึกษาตามอธยาศัยอาจอยู่ในรูปแบบของกิจกรรมที่ไม่จัดเป็นรายวิชา โดยไม่ใช่เพอ
                                                 ื่
               วัตถุประสงค์ทางการศึกษา แต่เป็นไปเพอส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านความรู้ ความเข้าใจ หรือการ
               เสริมสร้างประสบการณ์ในด ารงชีวิต
                              3) การศึกษาตามอธยาศัยที่มีการวางแผนและมีโครงสร้างอยู่แล้ว ในลักษณะหลักสูตรระยะ
                                             ั
                           ื
               สั้นที่จัดขึ้นเพ่อตอบสนองความสนใจ ความถนัดและศักยภาพของผู้เรียน แต่มีวิธีการจัดแบบยืดหยุ่น และ
                                   ั
               ด้วยวิธีการเรียนรู้ตามอธยาศัย
                                                                                                      ื่
                      จากการศึกษาเอกสาร สรุปได้ว่าบทบาทการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพอให้
               ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยค านึงถึงความเสมอภาค

               ในการเข้าถึงและได้รับการศึกษา การกระจายอานาจแก่สถานศึกษา ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการ
               เรียนรู้ การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย การ

                                                                        ื่
               พฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย น าเทคโนโลยีมาใช้เพอการศึกษา และการจัดกรอบหรือแนว
                 ั
               ทางการเรียนรู้ที่เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้เรียน
               3.แนวคิดควำมเป็นพลเมือง
                      พลเมืองในรัฐที่มีสังคมการเมืองแบบประชาธิปไตยจะเห็นคุณคาในการพัฒนาคนของรัฐให้เป็นพลเมือง
                                                                         ่
               ที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในสิทธิหน้าที่ความรับผิดชอบ มีคุณลักษณะที่พงประสงค์ในฐานะ
                                                                                           ึ
                                                                                                       68
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75