Page 69 - thaipaat_Stou_2563
P. 69

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                           การศกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย ได้ยึดแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
                               ึ
                                                            ั
               มุ่งจัดการศกษาให้กับผู้เรียนสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ เป็นการเรียนรู้เพอชีวิต ที่เรียกว่าสี่
                         ึ
                                                                                           ื่
                                                                            ื่
               เสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars of Education) ได้แก การเรียนรู้เพอรู้ (Learning to know) การเรียนรู้
                                                                ่
                  ื่
                                                          ื่
               เพอปฏิบัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพอที่จะอยู่ร่วมกัน (Learning to Live Together) และการ
               เรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to Be) (วิชัย วงษ์ใหญ่ , 2554: 511 - 512)
                      1.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning Theory)
                           ตั้งอยู่บนพนฐานความเชื่อที่ว่าผู้ใหญ่แต่ละคนเป็นผู้ที่มีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ มีความสามารถที่จะ
                                    ื้
                                                                   ี
               เป็นผู้ชี้น าตนเองได้ รวมถึงบทบาทของครูจะไม่เป็นผู้สอนแต่เพยงฝ่ายเดียว แต่ครูจะเป็นผู้อ านวยความสะดวก
               ในการจัดกิจกรรมเพอก่อให้เกิดการเรียนรู้ เป็นผู้ช่วยในการวิเคราะห์ความต้องการ (Need analysis) วิเคราะห์
                                ื่
                                                                                               ื่
               ปัญหาของผู้เรียน (Problem analysis) วางวัตถุประสงค์และออกแบบสร้างประสบการณ์เพอการเรียนรู้
               (Design learning experiences) (ศักรินทร์ ชนประชา, 2557: 14)
                                     ึ
                           ดังนั้น การศกษานอกระบบและการศกษาตามอธยาศัยต้องยึดหลักให้ตอบสนองต่อธรรมชาติของ
                                                                  ั
                                                         ึ
               ผู้ใหญ่ สิ่งที่ควรค านึงถึงหรือลักษณะเด่นของผู้ใหญ่ที่มีผลท าให้ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
               ประกอบด้วยหลักส าคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) มโนทัศน์ของผู้เรียน (Self-Concept) 2) ประสบการณ์ของ
               ผู้เรียน (Experience) 3) ความพร้อมที่จะเรียน (Readiness to Learn) และ 4) แนวทางการเรียนรู้
               (Orientation to Learning) (ศักรินทร์ ชนประชา, 2557: 16 - 17)
                      1.3 หลักการมนุษยนิยม (Humanistic principles)

                           กรอบสะท้อนส าคัญเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ได้ถูกแปรเปลี่ยนไปภายใต้
               แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต จากเดิมรัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบหลักไปสู่ภาคประชาสังคม ชุมชน รวมถึงสถานที่
               ปฏิบัติงาน และจากเดิมภายใต้โครงสร้างและสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิม ไปสู่การมุ่งเน้นการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็น
               หัวใจส าคัญของระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถและการจูงใจให้บุคคลตระหนักและ
               เกิดการเรียนรู้ของตนเองได้ จึงเป็นความท้าทายในการส่งเสริมการศึกษา เนื่องจากแนวคิดเรียนรู้ตลอดชีวิตมี

                                 ื้
               ปรัชญาและอดมคติพนฐานบนหลักการมนุษยนิยม (Humanistic principles) ซึ่งมีความแตกต่างกับหลักการ
                           ุ
               เสรีนิยมใหม่ (Neoliberal principles) ที่มุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน การแปรรูปและทุนมนุษย์
               (Kapil Dev Regmi, 2015: 142)

                                                                   ั
                           การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย ตามหลักการมนุษยนิยม (Humanistic
                                              ื่
               principles) จึงมีจุดมุ่งหมายส าคัญเพอให้สมาชิกในสังคมมีความตระหนักถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
               พวกเขาเองในกิจกรรมผ่านรูปแบบต่าง ๆ โดยการเสริมสร้างความร่วมมือและประสานงานซึ่งกันและกันที่มี
               ลักษณะเป็นการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Collective Learning) จากการแบ่งปันความรู้ร่วมกันจนน าไปสู่

               สาธารณะประโยชน์ จึงเห็นได้ว่าเป็นการส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์โดยการสร้างทุนทางสังคม (Social
               capital) และการเพมขีดความสามารถ (Capability Enhancement) ให้สูงขึ้น (Kapil Dev Regmi, 2015: 147)
                               ิ่
                      จากการศึกษาเอกสาร สรุปได้ว่าการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย มุ่งเน้นให้เกิดการ
                                                                                    ั
               เปลี่ยนแปลงทางความคิดและการกระท าของผู้เรียน ตามแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยค านึงถึงศักยภาพ

               ความพร้อม ความสนใจ ความถนัด สภาพแวดล้อมชุมชน สังคม และความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย ตาม
                                                                                               ั
               ทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ เพอให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ได้จริงในชีวิต สามารถพฒนาตนเอง
                                          ื่
               ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามหลักการมนุษยนิยม
               2.บทบำทกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย

                      2.1 การจัดการศึกษานอกระบบ

                                                                                                       67
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74